เบี้ยแก้ หลวงปู่เจือวัดกลางบางแก้ว
อิทธิคุณเบี้ยแก้ วัดกลางบางแก้ว
หลวงปู่เจือ ปิยสีโล
รายการนี้ทางเราไม่มีให้บูชาแล้ว
กันถูกกระทำย่ำยี กันคุณผีคุณคนคุณไสยเวทย์อาถรรพณ์ ยาสั่ง ฝังรูปฝังรอยผีเข้า เจ้าสิงมิลงเลย กันไข้ป่าสารพัดผีป่า โป่ง โป้ง ผีเปิ่ง ผีปอบกองกอย พาให้ผิดท่าหลงทาง เข้าสิงให้วิกลจริตพลุ่งพล่าน เฉียบพลันอยากตายด้วยอัตวินิบาตกรรม ผูกคอล่อพิษ โดดน้ำ ลุยไฟ โดดสูง จูงค่าง ผีเข้า เจ้าสิง ถ้าจริงหาย กันจิตคิดวิกล ด้วยอุปทาน กันมนต์ยายำ ย่ำยีด้วยเล่ห์กลมายา สารพัดอุปาทานอันวิกลพิการแล
แก้เจ็บปวดด้วยโรคร้ายแต่ เวรกรรมแต่กรรม เมื่อมีมรณะสัญญา ให้มีเวทนา ทุรนทุรายด้วยสัมภะเวสี โอปะปาติกะของเปรต อสุรกาย ให้เร่าร้อน ทุรนทุราย เจ็บแสบ ปวดร้อนร้อนร้าวหนาวสั่นก็ดี เพราะกรรมเก่าเวรก่อนนั้นเป็นวิบาก
สู้ไว้ข้างหน้า ไม่กล้าไว้ข้างหลัง เมตตามหานิยมไว้ขวา กันอาวุธศาสตราไว้ซ้าย แขวนคอแก้ลมเพลมพัด อัมพาต แขน ขา ปาก คอ หลัง ลิ้นกระด้าง ถอนคุณไสยรูปรอยลงบนใบหมอน คลึงแป้งถอนคุณ คลึงปูนถอนพิษ ถอนเสา ถอนพระภูมิ ศาลเจ้า เจว็ด เสมา กำแพง เสกภาวนา สสมุหเนยยะ สะมุหะนะติ สะหุหะคะโต สีมาคะตัง พันธะเสมายัง สะมุหะ นิตัพโพ เอวังเอหิ นะเคลื่อน โมถอน พุทคลอน ธาเคลื่อน ยะเลื่อนหลุดลอย สวาหะ
“โลปุสุ สะวิพุ สังภะอะ” ว่าแต่นารายณ์ถวายจักร 7 ที
ภาวนาก่อนใช้ อะสัง วิสุ โล ปุสะพุภะ พุทธะสังมิ อิสะวาสุ
เอาดอกไม้หลากสี ดอกพุทธรักษา ธูปเทียนบูชา อธิษฐานด้วยขันน้ำมนต์ และอธิษฐานเอาตามใจเถิด แล้วภาวนาต่ออายุ สะธะวิปิ ปะสะอุ 3 ที
บทสักกัตตะวาด้วยก็ดี ผูกขอดชายผ้ากันปืน
อะนิทัสสะนะอัปปะติ ลั่นไกมิออก
อะนิทัสสะนะอัปปะติคา ลูกมิออกลำกล้อง
อะนิทัสสะนะอัปปะติคายะ ลำกล้องแตก
ภาวนาอภัยกรรม ให้คนเกลียด เคียด โกรธ เพ่งโทษ จองเวร ให้หายพยาบาทพยาเวร ต่อแล้วดีกัน หายกัน แล.
นะเมตตาจะมหาราชา อะเมตตาจะมหาเสนา อุเมตตาจะมหาชะนา สัพพะสิเนหา จะปชิตาสสัพพะสยัง จะมหาลาภัง ราชาโกธังวินัสสันติ ชะนาโกธัง วินัสสันติ สัพพะโกธัง วินัสสันติ
“คาถาบทนี้ใช้เสกยาหอมได้ด้วย”
วิธีใช้เบี้ยแก้ (หลวงปู่เจือ ปิยสีโล)
นะโม 3 จบ
อิติปิโส ภะคะวา ยาตรายามดี
ได้ยามพระศรี สวัสดีลาโภ นะโมพุทธายะ
แล้วสวดคาถาหัวใจต่อ
อะสัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ พุท ธะ สังมิ อิสวาสุ
Other items you may be interested in:
More Stories
ล็อคเก็ตเข็มกลัดรูปในหลวงรัชกาลที่ 9
รหัส : C103858 ราคาบูชา : 350.- ล็อคเก็ตเข็มกลัดรูปในหลวงรัชกาลที่ 9 งานสวยมาก เหมาะสำหรับเป็นที่ระลึกหรือพกติดตัวเพื่อเป็นศิริมงคล
รูปภาพเทวดาให้ลาภ จินดามณี ภาพศิลปะดิจิตอลพร้อมกรอบ
ภาพศิลปะดิจิตอลพร้อมกรอบ เทวดาให้ลาภ จินดามณี รูปนี้เป็นการสรรค์สร้างโดยแนวคิดของวิชาทางพระเวทย์ที่ชื่อว่าจินดามณี ซึ่งวิชาจินดามณีนี้เป็นวิชาที่สืบทอดกันมาช้านานมีบันทึกไว้ในคัมภีย์พระเวทย์โบราณ เป็นคาถาที่ว่าด้วยการเรียกทรัพย์โชคลาภเงินทอง หรือคาถาจินดามณี ซึ่งมีบันทึกไว้เป็นหลักฐานจากวิชาของหลายเกจิอาจารย์ด้วยกันเช่น วิชา จินดามณีของหลวงปู่ทิม อิสริโก วัดละหารไร่ จังหวัดระยอง ซึ่งท่านก็มีวิชานี้เหมือนกัน ต่อมาภายหลังวิชานี้ได้ถูกถ่ายทอดสู่ลูกศิษย์ท่านคือหลวงพ่อสาคร มนุญโญ วัดหนองกรับ เกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งภาคตะวันออก...
“ระบบการศึกษา” เครื่องมือผนวก “ล้านนา” ให้กลายเป็นไทยในสมัยรัชกาลที่ 6
เด็กนักเรียนโรงเรียนประชาบาลเมืองเชียงแสน พ.ศ. 2466 (ภาพจาก หอจดหมายเหตุแห่งชาติ) ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ในสยามกำเนิดรัฐแบบใหม่ที่บริหารงานแบบรวมศูนย์ ทำให้จำเป็นต้องสลายอำนาจท้องถิ่นเพื่อดึงทรัพยากรและผู้คนมาเป็นของรัฐบาลส่วนกลาง สำหรับกรณีของล้านนา สยามเลือกใช้วิธีของเข้าอาณานิคมผสมผสานกับธรรมเนียมของรัฐจารีต หากยังขาดจิตสำนึกร่วมชาติ รัชกาลที่ 6 จึงทรงใช้ “การศึกษา” เป็นเครื่องมือในการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งเรื่องดังกล่าวนี้ ผศ.ดร. เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว ได้ค้นคว้าและเรียบเรียงไว้...
โรงเรียนทหารบกโอกาสของ “สามัญชน” และสถานที่สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
“โรงเรียนทหารสราญรมย์” ที่ภายหลังเปลี่ยนเป็น “โรงเรียนทหารบก” (ภาพจากหนังสือ 2475:เส้นทางคนแพ้) แม้จะมีการวางรากฐานให้กับการผลิตนายทหารตามหลักสูตรสมัยใหม่ด้วยการจัดตั้ง “โรงเรียนทหารสราญรมย์” มาตั้งแต่ พ.ศ. 2430 แต่การรับเข้าเป็น “คะเด็ด” ก็จำกัดเฉพาะพระบรมวงศานุวงศ์ และบุตรนายทหารชั้นสัญญาบัตรเท่านั้น แต่เนื่องจากความจำเป็นที่ต้องขยายกิจการทหารให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของบ้านเมืองโดยเฉพาะหลังเหตุการณ์ “ร.ศ.112” ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2437 ที่เป็นการคุกคามจากฝรั่งเศส และลัทธิล่าอาณานิคมของประเทศตะวันตก ทางราชการจึงต้องการนายทหารเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากให้ได้ส่วนสัมพันธ์กับขนาดของกองทัพที่ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว...
ทหารญี่ปุ่นตบหน้าพระไทย สู่วิกฤตการณ์บ้านโป่ง 18 ธ.ค. 2485
ภาพประกอบเนื้อหา – ทหารญี่ปุ่นเรียงแถวปลดอาวุธต่อหน้านายทหารโซเวียต ช่วงกองทัพรัสเซียเข้าปลดปล่อยแมนจูเรียจากญี่ปุ่น ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ภาพถ่ายเมื่อ ส.ค. 1945 (ภาพจาก AFP) เมื่อช่วงบ่ายของวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2485 พระเพิ่ม สิริพิบูล (เอกสารบางรายการระบุว่าเป็นเณร) จากวัดห้วยกระบอก อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม...
โอรสแห่งสวรรค์ ไยจึงมีชีวิตที่แสนสั้น? เมื่อจักพรรดิ “จีน” ดื่มยาอายุวัฒนะ แต่ยิ่งตายไว!
ภาพประกอบเนื้อหา – ภาพเขียน เง็กเซียนฮ่องเต้ (Jade Emperor) ในจินตนาการ ภาพจาก Daoist deity: Jade Emperor. Boston: Museum of Fine Arts สิทธิใช้งาน public domain...
ปริศนาเจ้าแม่วัดดุสิต ต้นราชวงศ์จักรี “เจ้า” หรือ “สามัญชน”???
พระบรมรูปพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ประดิษฐานภายในปราสาทพระเทพบิดร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระราชวงศ์จักรีเป็นพระราชวงศ์ที่มีอายุยืนยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติ ทั้งพระราชพงศาวดารและตำราประวัติศาสตร์ มีให้ศึกษาประวัติโดยละเอียดจำนวนมาก โดยเฉพาะพระบรมเดชานุภาพ พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ แต่หากสังเกตอย่างดีก็จะพบว่าในบรรดาประวัติพระราชวงศ์หรือพระราชประวัติพระมหากษัตริย์ เรายังขาดแคลนข้อมูลที่กล่าวถึงบางช่วงบางตอน เช่นในภาคปฐมวัยแห่งพระมหากษัตริย์บางพระองค์ เท่ากับว่าเรายังขาดความรู้เรื่อง “วัยเด็ก” ของพระมหากษัตริย์ไทย โดยเฉพาะพระองค์ก่อนรัชกาลที่ ๕ ขึ้นไป ทั้งนี้เป็นเพราะการจดพงศาวดารในยุคก่อนได้เว้นที่จะกล่าวถึงพระราชประวัติก่อนเสวยราชย์ จะด้วยธรรมเนียมหรือด้วยเหตุไม่บังควรอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม ทำให้ประวัติศาสตร์ในช่วงดังกล่าวเป็นแต่เพียงภาพรางๆ...
ภาพเขียนสีที่เพิงผา “ตอแล” ภูเขายะลา ถึงภาพใน “ถ้ำศิลปะ” กับข้อมูลเมื่อแรกเริ่มค้นพบ
(ซ้าย) ภาพมุมสูงเมืองยะลา เมื่อราวปี พ.ศ. 2547 (ขวาบน-ล่าง) ภาพเขียนสีที่เพิ่งผา “ตอแล” จ.ยะลา (ภาพจาก ศิลปวัฒนธรรม เม.ย. 2542) “ตอแล” หรือ “ตอหลัง” เป็นเพิงผาหนึ่งของภูเขายะลา อยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านกูเบ ตําบลยะลา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา...
ประวัติศาสตร์การนั่งจากกรุงศรีฯ-กรุงเทพฯ คนไทยนั่งกันท่าไหน
สตรีชั้นสูงนั่งบนตั่ง ขณะที่บริวารนั่งบนพื้น ถ่ายราวยุค 2410 (ANP-0002-123 ภาพจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ) “การนั่ง” เป็นหนึ่งในอริยาบถสุดเบสิกมนุษย์เราในปัจจุบันคุ้นเคยกันจนคิดว่าเป็นกิริยาอาการแสนสามัญธรรมดาแต่นั่นอาจจะไม่ใช่สิ่งที่คนสมัยอยุธยาคิด เมื่อ 300 กว่าปีที่แล้ว ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ ราชทูตจากราชสำนักพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสเดินทางมาถึงอยุธยา ราว 3 เดือนที่พำนักอยู่ดินแดนที่ไม่คุ้นเคยเขาได้บันทึกเรื่องราวหลายแง่มุมที่ประสบพบเจอในสยามอย่างละเอียด บันทึกเล่มนี้ได้กลายเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์อันประมินค่ามิได้กาลต่อมา...
เมืองปากสิงห์ (สิงห์ สิงหเสนา) วีรบุรุษเมืองร้อยเอ็ด ผู้ร่วมปราบฮ่อ และ ร.ศ. 112
อนุสาวรีย์สิงห์เมืองปาก (สิงห์ สิงหสนา) หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “ปู่เมืองปาก” ที่ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดจักรวาลภูมิพินิจ ตำบลหนองหมื่นถ่าน อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด (ภาพสิมวัดจักรวาลภูมิพินิจ จาก www.qrcode.fineart.go.th) สิงห์ สิงหเสนา มีนามสกุลคล้ายๆ เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) แต่ทั้งสองไม่ได้มีความเกี่ยวข้องใดกัน “สิงห์ สิงหเสนา” ผู้นี้เป็นใคร ผู้ใช้นามปากกาว่า เสมา ไชยกำแหง จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เขียนอธิบายเรื่องนี้ไว้ใน “สิงห์เมืองปาก...
มอง “พม่า” ผ่านสายตา “สำหรุดปาน” ชาวสงขลาที่เดินทางไปแสวงบุญเมื่อร้อยปีก่อน
เจดีย์ชเวดากอง ภาพถ่ายราวปี คงศ. 1895-1915 นิราศพระธาตุเมืองย่างกุ้ง สะท้อนให้เห็นโลกทรรศน์ของสำหรุดปานที่ทับซ้อนกันสองโลก โลกด้านหนึ่งคือโลกในระดับโลกิยะ การมองโลกเชิงประจักษ์ ดังจะเห็นได้จากการที่สำหรุดปานให้ความสำคัญกับการบรรยายรายละเอียดการเดินทาง สภาพบ้านเมืองและสิ่งต่าง ๆ ที่ตนได้ประสบพบเห็นด้วยตนเอง โลกอีกด้านหนึ่งที่สำหรุดปานให้ความสำคัญสูงกว่าคือโลกในระดับโลกุตระ ดังจะเห็นได้จากความมุ่งมั่นตั้งใจในการเดินทางจาริกแสวงบุญนมัสการพระบรมธาตุยังดินแดนพม่า และยิ่งไปกว่านั้นได้แต่งหนังสือสวดนี้ไว้เพื่อให้นำไปใช้อ่านและสวดให้ญาติพี่น้องมิตรสหายที่ไม่มีโอกาสได้เดินทางมานมัสการพระธาตุด้วยตนเองได้ร่วมฟังและตั้งจิตอนุโมทนาบุญร่วมกัน พม่าในวิถีโลกย์ ดินแดนพม่าเมื่อครั้งสำหรุดปานเดินทางไปนั้นเป็นช่วงเวลาที่ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษและสูญสิ้นราชวงศ์พม่าแล้ว พระเจ้าธีบอกษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์คองบองของพม่าถูกอังกฤษถอดจากราชบัลลังก์และนำตัวไปคุมขังไว้ที่เมืองรัตนคีรี บริติชอินเดีย สภาพการณ์ความเป็นไปของพม่าเช่นนี้ไม่ได้เกินเลยความรับรู้ของสำหรุดปาน สันนิษฐานได้ว่าการที่เขาเป็นคนสะเดา...
ตำนานคู่ปรับวงการมวย โพล้ง เลี้ยงประเสริฐ vs สุวรรณ นิวาสะวัต
(ซ้าย) โพล้ง เลี้ยงประเสริฐ, (ขวา) สุวรรณ นิวาสะวัต (ภาพจาก ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมีนาคม 2564) โพล้ง เลี้ยงประเสริฐ นักมวยดังจากบ้านท่าเสา จังหวัดอุตรดิตถ์ เจ้าของฉายา “ยอดมวยเตะ” เป็นนักชกที่มีชื่อเสียงรุ่นเดียวกับ สุวรรณ นิวาสะวัต นักมวยพระนครจากสำนักสวนกุหลาบ เจ้าของฉายา “เอลโมมีฤทธิ์” (เอลโมเป็นชื่อดาราพระเอกภาพยนตร์สมัยนั้น...