
กระทะที่เก่าที่สุด สมัยอยุธยา เท่าที่พบตอนนี้
กลุ่มกองโลหะขนาดใหญ่ สันนิษฐานว่าเป็นกระทะ (ภาพประกอบจากหนังสือ มรดกใต้ท้องทะเลไทย โดย เอิบเปรม วัชรางกูร กับ วรวิทย์ หัศภาค สำนักพิมพ์มติชน.2554)
กระทะที่เก่าที่สุด เท่าที่พบตอนนี้ แต่ไม่ใช่ กระทะสำหรับหมูกระทะ
พบหลักฐาน กลุ่มกองโลหะขนาดใหญ่ สันนิษฐานว่าเป็นกระทะ ตั้งอยู่ติดกับกองงาช้างขนาดใหญ่ พบในแหล่งเรือจมเกาะคราม เรือลำนี้กำหนดอายุราว พุทธศตวรรษที่ 19-20 อาจเป็นเรือที่มาจากอยุธยา
แล้วทำให้แอดมินนึกถึงที่อาจารย์นิธิ เคยพูดถึงกระทะ ดังนี้
“เมื่อตอนที่ผมเรียนในระดับปริญญาตรีนั้น ตอนนั้นจีนแทบจะไม่มีบทบาทในประวัติศาสตร์ ปัจจุบันนี้เราพูดถึงจีนในบทบาททางเศรษฐกิจ ไม่มีใครเถียง แต่ด้วยเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งเขาสามารถผลักตัวเองเข้าไปอยู่ในพื้นที่ความทรงจำของคนไทยปัจจุบัน ไม่ว่าทางเศรษฐกิจ หรือเทคโนโลยี ที่เราเรียกอาหารไทย
ลองไม่มีกระทะเหล็กซะใบเดียว คุณไม่ได้กินหรอก และกระทะเหล็กก็มาจากเมืองจีน เพราะกระทะเหล็กก็มาจากเมืองจีน เพราะก่อนที่กระทะเหล็กจะเข้ามานั้นคุณก็จะผัดหรือทอดอาหารไม่ได้ นั่นแหล่ะคืออาหารไทย”
(จากบทความเรื่อง คนไทยหลายเผ่าพันธุ์ 3,000ปี ในสุวรรณภูมิ โดย ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ ในหนังสือ ประวัติศาสตร์แห่งชาติ “ซ่อม” ฉบับเก่า” สร้าง “ฉบับใหม่”.2549)
Source: https://www.silpa-mag.com/history/article_16100
The post กระทะที่เก่าที่สุด สมัยอยุธยา เท่าที่พบตอนนี้ appeared first on Thailand News.
More Stories
“ตุ่มสามโคก” หมายความว่าอย่างไร ทำไมต่อท้าย “ตุ่ม” ว่า “สามโคก” ?
หญิงสาวชาวสยามกับ ตุ่มสามโคก ภาพถ่ายเก่าสมัยรัชกาลที่ 5 (ฉากหลังเป็นทุ่งหญ้า ภาพประกอบเนื้อหาเท่านั้น) ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมิถุนายน 2552 ผู้เขียน ภาษิต จิตรภาษา เผยแพร่ วันศุกร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ.2565 สมัยเมื่อผมเป็นเด็ก เคยได้ยินผู้ใหญ่ท่านเปรียบเปรยผู้หญิงคนหนึ่งว่า...
กรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ 1 ผ่านฟ้าเปลี่ยวสุด พญาไทมีโขลงช้าง
บริเวณ “ผ่านฟ้า” ช่วงปลายรัชกาลที่ 4 ผู้เขียน คนไกล วงนอก เผยแพร่ วันอาทิตย์ที่ 10 เมษายน พ.ศ.2565 ผ่านฟ้า วันนี้เป็นแหล่งชุมชน ที่มีวัดวาอาราม, หน่วยงานราชการ, บ้านเรือนประชาชน, ร้านอาหารเจ้าอร่อย ฯลฯ และรถติด...
รู้ไหมว่า “มหาสารคามเคยมีสนามบิน”…แล้วทำไมถึงเปลี่ยนไป?
เครื่องบินที่มาแสดงในงานเปิดสนามบินที่มณฑลร้อยเอ็ด วันที่ 7 เมษายน 2465 (ภาพจากการค้นคว้าของ คุณวีระ วุฒิจำนงค์) ผู้เขียน จักรมนตรี ชนะพันธ์ เผยแพร่ วันพฤหัสที่ 14 เมษายน พ.ศ.2565 จังหวัดมหาสารคามตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคอีสาน เป็นจังหวัดขนาดเล็กมีพื้นที่เป็นลำดับที่15 ของภาคอีสาน จังหวัดมหาสารคามมีพัฒนาการตั้งขึ้นเป็น “เมืองมหาสารคาม” เมื่อ...
ส่องการพักผ่อนแบบชนชั้นสูงสยาม อิทธิพลจากฝรั่ง ดูยุคเริ่มยอมถ่ายรูป สู่ฮิตพักตากอากาศ
ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับสิงหาคม 2551 ผู้เขียน วีรยุทธ ศรีสุวรรณกิจ เผยแพร่ วันอาทิตย์ที่ 17 เมษายน พ.ศ.2565 ชนชั้นสูงสยามกับการพักผ่อนหย่อนใจของฝรั่ง [1] เมื่อเอ่ยถึง “การพักผ่อนหย่อนใจ“ หลายท่านคงจะนึกถึงกิจกรรมต่างๆ ที่เราคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน เช่น การเล่นกีฬา การสังสรรค์ การร้องเพลง–เต้นรำ...
“คอกในคุ้ม-คุ้มในคอก” ในเวียงเชียงใหม่
หอคำเมืองนครเชียงใหม่ ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมกราคม 2546 ผู้เขียน สมโชติ อ๋องสกุล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เผยแพร่ วันอังคารที่ 19 เมษายน พ.ศ.2565 “คอก” ในภาษาล้านนาหมายถึง ๑. ที่ขัง ที่จำกัดอิสรภาพ เช่นเรือนจำ ๒....
“โบราณคดีพิศวง” ที่ไม่น่าเชื่อ และ “ไม่ควรเจอ” ที่พระนครศรีอยุธยา
ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับกุมภาพันธ์ 2547 ผู้เขียน ภูธร ภูมะธน, สถาบันราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี เผยแพร่ วันเสาร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ.2565 จั่วหัวเรื่องดังกล่าวนี้ผมไม่ได้มีเจตนาจะเล่าเรื่องผี แต่จะเล่าเรื่องการค้นพบหลักฐานโบราณคดีบางอย่างที่ไม่น่าเชื่อว่าจะค้นพบได้ในที่ที่ไม่ควรพบ กล่าวคือ เมื่อต้นเดือนก่อน สหายร่วมโลกเรื่องวัฒนธรรมและโบราณคดีของผมคนหนึ่งชื่อปริญญา สัญญะเดช เป็นครูสอนวิชาช่างภาพที่สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล...
การค้นพบหลักฐาน “เจดีย์ยุทธหัตถี” ที่ใช้ยืนยันตำนานพระนเรศวรชนช้างเป็นเรื่อง “จริง”!
(ซ้าย) ซากเจดีย์ยุทธหัตถีเดิม (ขวา) เจดีย์ยุทธหัตถี สร้างใหม่ครอบองค์เดิม ตำบล ดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี (ภาพจากหนังสือ โบราณวัตถุสถานทั่วพระราชอาณาจักร จัดพิมพ์โดยกรมศิลปากร, พ.ศ. 2500) ผู้เขียน เทพ บุญตานนท์ เผยแพร่ วันอาทิตย์ที่ 24 เมษายน...
“ภูเขาทอง” กองอิฐใหญ่ที่ถูกทิ้งร้าง มูลเหตุการขุด “คลองผดุงกรุงเกษม” ป้องกันพระนคร
ภูเขาทอง วัดสระเกศ (ภาพจาก หนังสือ ประชุมภาพประวัติศาสตร์ แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) รัชกาลที่ 3 ทรงมีพระราชดำริให้สร้าง “ภูเขาทอง” ที่วัดสระเกศ ให้สร้างเป็นพระปรางค์ขนาดใหญ่อย่างภูเขาทองที่อยุธยา แต่เนื่องด้วยชั้นดินอ่อนตัว รับน้ำหนักจำนวนมหาศาลของพระปรางค์ไม่ได้ กระทั่งทรุดลง จึงหยุดก่อสร้างค้างอยู่เพียงฐาน ถูกปล่อยให้รกร้าง กลายเป็นกองอิฐขนาดใหญ่นอกกำแพงพระนคร ตำแหน่งที่ตั้งของภูเขาทองนั้น นับเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญของพระนคร เพราะตั้งอยู่ริมคลองมหานาคเชื่อมต่อกับคลองรอบกรุงและคลองหลอด (คลองหลอดวัดราชนัดดาฯ)...
เปิดชีวิต “พระสรรพการหิรัญกิจ” เจ้าของป๊ากสามเสน บ้านสุดหรูหราราวพระราชวัง
ตึกของพระสรรพาการ (ภาพจากหนังสือ Twentieth Century Impressions of Siam. 1994) ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับกันยายน 2543 ผู้เขียน เอนก นาวิกมูล เผยแพร่ วันเสาร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ.2565...
ชื่อ “พระประแดง” มาจากไหน
อ่าวไทย รูปเขียนจากความทรงจำของชาวฮอลันดาที่มาอยุธยาในสมัยพระเจ้าปราสาททอง ด้านบนคือพระนครศรีอยุธยา ส่วนด้านล่างเป็นบ้านเมืองบริเวณอ่าวไทย รวมทั้งเมืองพระประแดง พระประแดง เป็นชื่อที่ได้จากเทวรูปทองสัมฤทธิ์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 2 องค์ มีจารึกนามว่า พระยาแสนตาองค์หนึ่ง ส่วนอีกองค์หนึ่งชื่อบาทสังขกร ขุดพบโดยบังเอิญบริเวณคลองสำโรง จังหวัดสมุทรปราการ ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เมื่อราว พ.ศ. 2041 ยุคนั้นการค้าทางทะเลกับบ้านเมืองชายฝั่งห่างไกลขยายกว้างขวางมากกว่าเดิม จึงให้จัดระบบบัญชีไพร่พลและราษฎรที่เคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งหลักแหล่งทางดินแดนชายเลน กับซ่อมแปลงคูคลองเส้นทางคมนาคมให้เดินทางขึ้นล่องไปมาระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยากับทะเลอ่าวไทยสะดวกคล่องขึ้น โดยเฉพาะตรงที่เรียกคลองสำโรง (ปัจจุบันคือพื้นที่ระหว่างเขตบางนา...
ชื่อ “ประตูวิเศษไชยศรี” ในพระบรมมหาราชวัง ตั้งเพราะ “พระแสงขรรค์ชัยศรี” ผ่านประตูนี้?
ภาพถ่ายทางอากาศพระบรมมหาราชวัง (ภาพจากหนังสือสถาปัตยกรรมพระบรมมหาราชวัง สำนักราชเลขาธิการ พิมพ์เผยแพร่ พ.ศ. 2513) ยุคแรกเริ่มสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เป็นที่รู้กันว่า ทรงย้ายพระราชวังมาตั้งทางฝั่งตะวันออก โดยสร้างพระบรมมหาราชวังที่สร้างในกรุงเทพฯ แทบจะสร้างตามแบบพระราชวังหลวงในสมัยกรุงศรีอยุธยา หลังจากนั้นมาก็มีการแก้ไขปรับปรุงปลูกสร้างหลายครั้ง จนทำให้เกิดคำถามว่า แรกเริ่มแล้ว พระบรมมหาราชวังในชั้นแรกมีประตูอะไรบ้าง และสร้างขึ้นเมื่อใด ก่อนที่จะไปถึงข้อมูลเกี่ยวกับประตู คงต้องยกข้อมูลโดยคร่าวของพระบรมมหาราชวังมาเป็นภูมิหลังก่อน ในสมัยรัชกาลที่...
ฝนตกหนัก-น้ำท่วมใหญ่ ในเมืองหลวง ที่คนกทม. แต่ละรุ่นต้องเผชิญมา
น้ำท่วมสี่แยกบางพลัด ต้นเดือนพฤศจิกายน 2554 (ภาพจากห้องสมุดภาพมติชน) ผู้เขียน เสมียนนารี เผยแพร่ วันอังคารที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ฝนตกน้ำท่วม ดูจะกลายเป็นคำและส่วนขายที่อยู่คู่กันจนคุ้นเคย เพราะฝนตกเมื่อใด ก็มักมีน้ำท่วมขังตามมาบ่อยครั้ง แต่ประสบการณ์ฝนตกน้ำท่วมของคนกรุงเทพฯ แต่ละรุ่น แต่ละยุค ย่อมจดจำต่างกันไป คนหนุ่มสาวอายุ...