ทูตต่างประเทศ ยุคก่อนสมัยรัชกาลที่ 5 พำนักอยู่บริเวณไหนในกรุงเทพ?
“แขกรัฐบาล” ที่เป็นทูตต่างประเทศ เดินทางเข้ามากรุงเทพฯ ในสมัยก่อนรัชกาลที่ 5 พำนักอยู่บริเวณไหน? ในสมัยรัชกาลที่ 1 ไม่มีการบันทึกถึงที่พำนักของทูตในกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่ 2 “กาละลด มันแวนด์” ทูตโปรตุเกสจากมาเก๊า เดินทางเข้ามายังกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2361 ว่ามาพำนัก “อยู่ที่เรือนหน้าบ้านพระยาสุริยวงศ์มนตรี” ซึ่งมีลักษณะเป็นตึก พระยาสุริยวงศ์มนตรีผู้นี้ (ต่อมาภายหลัง) คือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ต่อมา ใน พ.ศ....
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการเปิดศูนย์ปฏิบัติการและปล่อยขบวนรถรณรงค์การป้องกันและลดอุบัติเหตุและทางน้ำช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565
วันที่ 7 เมษายน 2565 เวลา 11.00 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานในพิธีเปิดศูนย์ปฏิบัติการและปล่อยขบวนรถรณรงค์การป้องกันและลดอุบัติเหตุและทางน้ำช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 จังหวัดสมุทรปราการ ณ บริเวณลานหน้าศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โดยมี นายชัยพจน์ จรูญพงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ นายเจนเจตน์ เจนนาวิน รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ...
นายชัยพจน์ จรูญพงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานกิจกรรม “เสวนายามเช้า (Morning Talk)” จังหวัดสมุทรปราการ
วันที่ 7 เมษายน 2565 เวลา 08.00 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ มอบหมายให้นายชัยพจน์ จรูญพงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานกิจกรรม “เสวนายามเช้า (Morning Talk)” จังหวัดสมุทรปราการ ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ โดยมี...
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เข้าร่วมงานแสดงความสำเร็จการฉีดวัคซีนโควิด 19 และมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่จังหวัดที่ร่วมดำเนินการฉีดวัคชีนโควิด 19 เข็มกระตุ้นให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ “สงกรานต์สุขใจ ปลอดภัยทั่วไทย สูงวัยได้วัคชีน Save 608 by Booster dose”
วันที่ 7 เมษายน 2565 เวลา 09.00 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ พร้อมด้วย นายแพทย์นเรศฤทธิ์ ขัดธะสีมา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ เข้าร่วมงานแสดงความสำเร็จการฉีดวัคซีนโควิด 19 และมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่จังหวัดที่ร่วมดำเนินการฉีดวัคชีนโควิด 19 เข็มกระตุ้นให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ “สงกรานต์สุขใจ ปลอดภัยทั่วไทย สูงวัยได้วัคชีน Save 608 by...
ราชสกุลเสนีวงศ์ ณ อยุธยา หม่อมเจ้าแตงถึงหม่อมเจ้าทินกร ทำนายดวงร.4 พระองค์ไม่ทรงถือโทษ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ในบรรดาราชสกุลต่างๆ ในราชวงศ์จักรี ราชสกุล “เสนีวงศ์ ณ อยุธยา” เป็นอีกหนึ่งกลุ่มที่รับราชการในราชสำนักและแวดวงทหารสืบต่อกันมายาวนานนับตั้งแต่ “หม่อมเจ้าแตง” พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์ ต้นราชสกุลเสนีวงศ์ ณ อยุธยา ขณะที่พระโอรสของกรมหลวงเสนีบริรักษ์ ที่มีเรื่องเล่าต่อมานั้นก็มีพระโอรสหลายองค์ที่ปรากฏในบันทึกเสมอ ต้นราชสกุลเสนีวงศ์ คือพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแตง กรมหลวงเสนีบริรักษ์ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข กับเจ้าครอกทองอยู่...
ปลูก “ข้าว” อย่างเดียวสร้าง “รัฐ” ไม่ได้
ปลูกข้าวยุคเรก ราว 3,000 ปีมาแล้ว ในภาพสีที่ผาหมอนน้อย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี คนในสุวรรณภูมิ เรากิน “ข้าว” มาแล้วราว 7,000 ปีมาแล้วโดยเริ่มจาก “ข้าวป่า” ต่อก็เริ่มปลูกข้าวกินเอง ด้วยการลองผิดลองถูกมาไม่น้อยกว่า 5,000 ปี วิธีปลูกข้าวที่ทำกันอยู่ นักวิชาการทั่วโลกจำแนกตามลักษณะสังคมที่สูง (high land) ที่ต่ำ (low...
มีการ “สลับตัว” สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อคราวถูกสำเร็จโทษ จริงหรือ?
เรื่องมีการสลับตัวสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจริงหรือไม่นี้ก็เป็นตอนที่เขียนยาก เพราะหลักฐานส่วนหนึ่งไม่สามารถระบุที่มาที่ไปได้ ทำให้ความน่าเชื่อถือลดน้อยลง และส่งผลให้ความถูกต้องของการเขียนบทความลดน้อยลงไปด้วย ประเด็น “การสลับตัวสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” นี้ไม่มีการกล่าวไว้เลยในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชั้นต้นที่เป็นประวัติศาสตร์หลักของมาตรฐานสมัยกรุงธนบุรี คือ 1. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) [1] 2. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับบริติชมิวเซียม [2] 3. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพิมพ์หมอบรัดเลย์ [3] 4. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา [4] แม้ว่าหลักฐานทั้ง 3 ชิ้นหลังจะมีต้นกำเนิดจากหลักฐานชิ้นแรก [1]...
ร่องรอย “พระมหามงกุฎ” และของที่ราชวงศ์ไทยพระราชทานกษัตริย์กัมพูชา สมัยรัตนโกสินทร์
[ซ้าย] สมเด็จพระนโรดมบรมรามเทวาวตาร ทรงพระมหามงกุฏ ในพระหัตถ์ทรงพระแสงกระบี่ ซึ่งน่าจะเป็นสิ่งของที่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้เมื่อครั้งอภิเษกสมเด็จพระหริรักษรามาอิศราธิบดี (พระองค์ด้วง) [กลาง] พระมหามงกุฎที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน สมเด็จพระนโรดมบรมรามเทวาวตารกษัตริย์กัมพูชาและเครื่องทรงพระเศียรพระเจ้ากรุงกัมพูชา ภาพถ่ายเก่าในสมัยอาณานิคมของฝรั่งเศส [ขวา] สมเด็จพระศรีสวัสดิ์ ทรงพระมหามงกุฎ (ภาพจาก ศิลปวัฒนธรรม, มิถุนายน 2558) ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมิถุนายน 2558 ผู้เขียน รศ. ดร....
เปิดกรุสมบัติรัชกาลที่ 4 ไปอยู่ในฝรั่งเศส สู่กำเนิด “มิวเซียมสยาม” ในวังฟองเตนโบล
กรุสมบัติ รัชกาลที่ 4 ในพระราชวังฟองเตนโบล มุมหนึ่งของมิวเซียมสยามใน “ซาลองยูเจนี” เมื่อ พ.ศ. 2547 (ภาพจากเอกสารแนะนำพระราชวังฟองเตนโบล เผยแพร่ในนิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม, พฤษภาคม 2547 ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพฤษภาคม 2547 ผู้เขียน ไกรฤกษ์ นานา เผยแพร่ วันจันทร์ที่ 21 มีนาคม...
ทูตต่างประเทศ ยุคก่อนสมัยรัชกาลที่ 5 พำนักอยู่บริเวณไหนในกรุงเทพ?
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เซอร์จอห์น เบาริ่ง อัครราชทูตอังกฤษ เข้าเฝ้า (ภาพจิตรกรรมเทิดพระเกียรติกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ วาดโดย นคร หุราพันธ์ ปัจจุบันแขวนอยู่ภายในอาคารรัฐสภา) “แขกรัฐบาล” ที่เป็นทูตต่างประเทศ เดินทางเข้ามากรุงเทพฯ ในสมัยก่อนรัชกาลที่ 5 พำนักอยู่บริเวณไหน? ในสมัยรัชกาลที่ 1 ไม่มีการบันทึกถึงที่พำนักของทูตในกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่ 2 “กาละลด มันแวนด์” ทูตโปรตุเกสจากมาเก๊า เดินทางเข้ามายังกรุงเทพฯ...
เปิดตำนานธุรกิจเก่าแก่ในไทย จากกิจการย่านถนนทรงวาด สู่บริษัทเติบใหญ่ระดับสากล
เผยเบื้องหลังจุดกำเนิดธุรกิจการค้าเก่าแก่จากย่านถนนทรงวาด เส้นทางผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในอดีตของไทย สู่บริษัทเติบใหญ่ระดับสากล โครงสร้างพื้นฐานของหลายประเทศมีผู้ประกอบการระดับต่างๆ เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนสังคมในหลายมิติ สำหรับไทยแล้ว ในอดีตมีกิจการเก่าแก่ที่ก่อร่างสร้างตัวขึ้นมาจากผู้ประกอบการรุ่นใหม่ กระทั่งกลายมาเป็นบริษัทและเครือข่ายธุรกิจระดับนานาชาติ ธุรกิจเหล่านี้เป็นฟันเฟืองสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ แต่ก่อนหน้าเส้นทางอันนำมาสู่สถานะนี้ จุดกำเนิดของธุรกิจเก่าแก่หลายกลุ่มเริ่มต้นมาจากผู้ประกอบการในย่านการค้ายุคบุกเบิกสมัยแรกเริ่มกรุงรัตนโกสินทร์ที่คนปัจจุบันเรียกกันว่า “ย่านสำเพ็ง” พื้นที่สำเพ็งในอดีตเป็นทั้งย่านชุมชนที่อยู่อาศัยและเป็นย่านศูนย์กลางการค้าของกรุงเทพฯ ยุคแรกเริ่ม กระทั่งเกิด “ถนนทรงวาด” บนพื้นที่เดิมของสำเพ็งในภายหลัง ผู้ประกอบการหลายรายมาตั้งรกรากในบริเวณนี้ แม้ว่าหลายรายจะหันเหไปสู่กิจกรรมอื่นแล้ว ในอีกด้าน ยังมีผู้ประกอบการจำนวนไม่น้อยที่ยืนหยัดหรือสามารถพัฒนาตัวเองก้าวมาสู่ธุรกิจระดับประเทศ ไปจนถึงระดับนานาชาติได้ ธุรกิจเก่าแก่ที่เริ่มต้นเส้นทางจากพื้นที่ถนนทรงวาดนี้มีใครกันบ้าง ทำไมพวกเขาเติบโตและพัฒนาธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามมาดูข้อมูลที่น่าสนใจจากซีรีส์ “ทรงวาดศตวรรษ” ตอนที่...
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการนำข้าราชการประกอบพิธีถวายราชสักการะวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์
เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2565 เวลา 08.30 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานในพิธีถวายราชสักการะวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ ณ หอประชุมศาลาประชาคมจังหวัดสมุทรปราการ อำเภอเมืองสมุทรปราการ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการได้วางพานพุ่มดอกไม้ถวายราชสักการะ เบื้องหน้าพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พร้อมกล่าวคำถวายราชสดุดี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยมีนายกเหล่ากาชาดจังหวัดสมุทรปราการ ข้าราชการตุลาการ รองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด นายอำเภอ ทหาร...
จังหวัดสมุทรปราการจัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับภูมิทัศน์เนื่องในวันสำคัญของชาติ วันจักรี
เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2565 เวลา 10.30 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานเปิดโครงการจิตอาสาพระราชทาน “เราทำความดี ด้วยหัวใจ” กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา เนื่องในวันสำคัญของชาติ วันจักรี ณ โรงเรียนวัดจรเข้ใหญ่ ตำบลศีรษะจรเข้ใหญ่ อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมี นายศุภมิตร ชิณศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ...
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสมุทรปราการ ครั้งที่ 3/2565
เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2565 เวลา 13.30 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสมุทรปราการ ครั้งที่ 3/2565 ณ ห้องประชุมปากน้ำ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ โดยมี นายเจนเจตน์ เจนนาวิน รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ และคณะกรรมการฯ เข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียง ที่ประชุมได้รับทราบสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด...
7 เมษายน 2310: กรุงศรีอยุธยาแตก
เหตุการณ์เสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 นั้น คำให้การชาวกรุงเก่า ซึ่งถือเป็นหลักฐานชั้นต้นได้บันทึกเอาไว้ว่า “พม่าเห็นได้ที ก็ระดมเข้าตีปล้นกรุงศรีอยุธยา ทำลายเข้ามาทางประตูที่พระยาพลเทพนัดหมายไว้ ก็เข้าเมืองได้ทางประตูทิศตะวันออกในเวลากลางคืน เมื่อ ณ วันอังคาร ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๕ จุลศักราช ๑๑๒๘ (7 เมษายน พ.ศ. 2310) ไล่ฆ่าฟันผู้คนล้มตายลงเปนจำนวนมาก เอาไฟเผาโรงร้านบ้านเรือนภายในพระนครศรีอยุธยาเสียเปนอันมาก ขณะนั้นพระเจ้ากรุงศรีอยุธยาและพระมเหสีพระราชโอรสธิดา กับพระราชวงศานุวงศ์ก็หนีกระจัดกระจายกันไป พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาเสด็จหนีไปซุ่มซ่อนอยู่ประมาณสิบเอ็ดสิบสองวันก็เสด็จสวรรคต” ส่วนในพระนิพนธ์ไทยรบพม่า ของสมเด็จฯ...