ติดตามผ่านช่อง : Siammongkol Youtube Channel

พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทย (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 16-18 เมษายน 2565) ฉบับที่ 3

ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 15 เมษายน 2565ในช่วงวันที่ 16-18 เมษายน 2565 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางได้แผ่ลงมาปกคลุมถึงประเทศจีนตอนใต้ และทะเลจีนใต้แล้ว คาดว่าจะแผ่ลงมาปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือในวันพรุ่งนี้ (16 เม.ย. 65) ในขณะที่ประเทศไทยมีอากาศร้อนถึงร้อนจัด ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณดังกล่าวจะมีพายุฤดูร้อนเกิดขึ้น โดยมีลักษณะของพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง และมีลูกเห็บตกบางแห่ง รวมถึงอาจมีฟ้าผ่าเกิดขึ้นได้บางพื้นที่ จะเริ่มได้รับผลกระทบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือก่อน ส่วนภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก...

พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทย(มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 16-18 เมษายน 2565) ฉบับที่ 2

ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 14 เมษายน 2565ในช่วงวันที่ 16-18 เมษายน 2565 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนจะแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ในขณะที่ประเทศไทยมีอากาศร้อนถึงร้อนจัด ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณดังกล่าวจะมีพายุฤดูร้อนเกิดขึ้น โดยมีลักษณะของพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง และมีลูกเห็บตกบางแห่ง รวมถึงอาจมีฟ้าผ่าเกิดขึ้นได้บางพื้นที่ จะเริ่มได้รับผลกระทบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือก่อน ส่วนภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภาคใต้ตอนบน จะได้รับผลกระทบในระยะถัดไป จึงขอให้ประชาชนระวังอันตรายจากภัยดังกล่าว โดยหลีกเลี่ยงการอยู่ในที่โล่งแจ้ง ใต้ต้นไม้ใหญ่...

“มาร์กาเร็ต บราวน์” ตำนานสตรีผู้รอดจากไททานิก เผยวิถีชีวิตที่ดิ้นรนจนกลายเป็นเศรษฐินี

โศกนาฏกรรมของเรือไททานิกถูกจารึกในประวัติศาสตร์ฐานะความสูญเสียครั้งใหญ่ของการเดินเรือ เหตุการณ์เรืออับปางเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 จากการสอบสวนแล้วมีผู้เสียชีวิตกว่า 1,500 ราย มีผู้รอดชีวิตเพียง 710 คน ผู้รอดชีวิตซึ่งภายหลังเป็นที่รู้จักมากที่สุดคนหนึ่งคือ มาร์กาเร็ต บราวน์ เหตุการณ์บนเรือ ปี ค.ศ. 1912 ในค่ำคืนเหนือท้องทะเลบนเรือโดยสารลำยักษ์อันโอ่อ่าหรูหราเป็นประวัติศาสตร์อย่างไททานิก มาร์กาเร็ต บราวน์ ผู้โดยสารหญิงในเรือที่อยู่ระหว่างอ่านหนังสือและพักผ่อนบนเตียง ห้องนอนอันหรูหราของเธออยู่ด้านหน้าสุดของชั้นบีบนเรือไททานิก เธอรู้สึกถึงความผิดปกติขึ้นบนเรือพร้อมกับเห็นชายผู้หนึ่งที่ใบหน้าซีดเผือกมาบอกให้เตรียมลงเรือชูชีพ เธอตัดสินใจกลับเข้าไปในห้องหยิบเสื้อผ้าอาภรณ์ที่สามารถให้ความอบอุ่นกับร่างกายพร้อมเงินจำนวนหนึ่ง...

นักวิชาการม.ออสเตรเลียชี้ กรุงศรีอยุธยามิได้ถูกพม่าเผาทั้งหมด พวกอื่นทำลายหลังกรุงแตก

ข้อสังเกตเรื่องพม่าเผาทำลายกรุงศรีอยุธยาหลังจากตีกรุงศรีฯ เมื่อปี พ.ศ. 2310 เป็นหัวข้อที่ถูกพูดถึงในวงวิชาการมายาวนาน แม้แต่นักวิชาการต่างชาติอย่างออสเตรเลียก็เคยเขียนบทความตั้งข้อสังเกตเรื่องนี้ด้วย บทความชื่อ “ใครทำลายกรุงเก่า (กรุงศรีอยุธยา)?” โดย ดร. บี.เจ. เตรวิล จากศูนย์ประวัติศาสตร์เอเชีย มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย (Asian History Centre, Australian National University) เผยแพร่ในนิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 เดือนกันยายน 2528 เนื้อหาต่อไปนี้คือเนื้อหาที่คัดลอกมาจากบทความเดิม …ผู้เขียนมีโอกาสดีมากที่ได้ไปทำงานที่กรุงปารีส...

กรมอุตุฯ เตือนเฝ้าระวังพายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทย มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 16-18 เมษายน นี้

สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดลำปาง เปิดเผยประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา "พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทย (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 16-18 เมษายน 2565)" ฉบับที่ 1 ลงวันที่ 14 เมษายน 2565 โดยระบุว่า ในช่วงวันที่ 16-18 เมษายน 2565 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนอีกระลอกหนึ่งจะแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ประกอบกับลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทยตอนบน ในขณะที่ประเทศไทยมีอากาศร้อนถึงร้อนจัด ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณดังกล่าวจะมีพายุฤดูร้อนเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะของพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง และมีลูกเห็บตกบางแห่ง รวมถึงอาจมีฟ้าผ่าเกิดขึ้นได้บางพื้นที่...

ปัญหาบัญชีราชสํานักสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อรายจ่ายท่วมรายรับ

รัชกาลที่ 7 กับพระบรมวงศานุวงศ์ และเสนาบดี หน้าหอสมุดวชิราวุธ ถนนหน้าพระธาตุ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2469   พระนิพนธ์เรื่อง “สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น ประวัติศาสตร์เปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475” (สนพ.มติชน, พิมพ์ครั้งที่ 4, พ.ศ. 2546) ของ ม.จ.พูนพิศมัย ดิศกุล ทรงนิพนธ์ไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2486 เป็นต้นฉบับพิมพ์ดีด ต่อมา ศาสตราจารย์ ม.จ.สุภัทรดิศ...

สำรวจร่องรอยที่มาของชื่อ “แม่น้ำเจ้าพระยา” ทำไมเรียกแม่น้ำ “เจ้าพระยา” ?

แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าราชวรดิฐ ขณะมีพิธีสรงสนาน เฉลิมพระปรมาภิไธยเจ้าฟ้าวชิรุณหิศ ฯ พ.ศ. 2429   คนไทยรู้จัก แม่น้ำเจ้าพระยา เสียจนไม่คิดจะสงสัยว่าทําไมแม่น้ำสายนี้จึงชื่อว่า “เจ้าพระยา” ครั้นเมื่อเกิดสงสัยขึ้นมาก็ไม่รู้จะไปหาคําตอบได้ที่ไหน? สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงกล่าวเอาไว้ว่า— “ที่เราเรียกกันว่าปากน้ำเจ้าพระยาทุกวันนี้ แต่โบราณเรียกว่าปากน้ำพระประแดง ภายหลังเมื่อแผ่นดินงอกทะเลห่างออกไปไกลเมืองพระประแดงจึงเรียกว่าปากน้ำบางเจ้าพระยา ได้เห็นในจดหมายเหตุพระอุบาลีไปเมืองลังกาเมื่อแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ในหนังสือนั้นเรียกว่าปากน้ำบางเจ้าพระยา ทํานองเรียกปากน้ำบางปะกง เข้าใจว่าที่ซึ่งตั้งเมืองสมุทรปราการทุกวันนี้ในเวลานั้นจะเรียก “บางเจ้าพระยา” ” (พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา : 2505 : หน้า 455)...