พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2565) ฉบับที่ 4
ฉบับที่ 4 ลงวันที่ 29 เมษายน 2565ในช่วงวันที่ 29 เม.ย. – 2 พ.ค. 65 ลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมบริเวณประเทศไทยตอนบนจะมีกำลังแรงขึ้น ประกอบกับในช่วงวันที่ 1 – 2 พ.ค. 65 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนจะแผ่ลงมาปกคลุมภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงหนือ และทะเลจีนใต้ ในขณะที่ประเทศไทยตอนบนมีอากาศร้อนถึงร้อนจัด ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ...
ภาคเอกชนผนึกความพร้อมพลิกโฉมปั้น ภูเก็ต พังงา กระบี่ ดันไทยเป็นศูนย์กลางเวลเนสของโลก
สถานการณ์โควิด-19 ได้ส่งผลกระทบอย่างหนักต่อกลุ่มธุรกิจต่างๆ อย่างถ้วนหน้า แต่กลุ่มธุรกิจที่โดนคลื่นซัดลูกใหญ่ในครั้งนี้คงหนีไม่พ้นธุรกิจการท่องเที่ยวและโรงแรม โดยเฉพาะกลุ่มพื้นที่ภาคใต้จะได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจรุนแรงมากที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นๆ เนื่องจากรายได้ของพื้นที่เหล่านี้พึ่งพาการท่องเที่ยวเป็นหลัก โดยเฉพาะเม็ดเงินจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ซึ่งทางภาครัฐและภาคเอกชนต่างให้ความร่วมมือเพื่อหาแนวทางที่จะพัฒนาเศรษฐกิจการท่องเที่ยวให้เติบโตได้ดังเดิม ด้วยการนำร่องการพัฒนา “ระเบียงเศรษฐกิจเวลเนสอันดามัน” เพื่อขับเคลื่อนกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันสู่เมืองมหาอำนาจด้านสุขภาพ Read More Credit : ข่าวประชาสัมพันธ์ โพสต์ทูเดย์
หน่วยงานภาครัฐและเอกชนด้านท่องเที่ยว-บริการจับมือ อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ จัดงาน ฟู้ด แอนด์ ฮอสพิทาลิตี้ ไทยแลนด์ 2022 มั่นใจครึ่งปีหลังธุรกิจฟื้น รับภาครัฐเปิดประเทศ เตรียมรับนักท่องเที่ยวกลับเข้าไทย
งานฟู้ด แอนด์ ฮอสพิทาลิตี้ ไทยแลนด์ 2022 กลับมาอีกครั้งอย่างยิ่งใหญ่ สมาคมโรงแรมไทย สมาคมภัตตาคารไทย สมาคมบาริสต้า สมาคมเชพประเทศไทย สมาคมค้าปลีกไทย และ กว่า 15 องค์กรท่องเที่ยว-บริการไทยและนานาชาติ ร่วม อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ พร้อมจัดงานฯ ช่วยผู้ประกอบการฟื้นฟูธุรกิจ มั่นใจธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร และบริการทยอยฟื้นจากภาครัฐเปิดประเทศ แนะผู้ประกอบการเตรียมรับคลื่นนักท่องเที่ยวกลับไทย...
3 การไฟฟ้า ผนึกกำลัง GWM ขับเคลื่อนนโยบายยานยนต์ไฟฟ้าประเทศไทย
นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เป็นประธานพิธีลงนามในข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง MEA หรือ การไฟฟ้านครหลวง และ เกรท วอลล์ มอเตอร์ (ประเทศไทย) GWM ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนยานยนต์ไฟฟ้าและพัฒนาสถานีอัดประจุไฟฟ้า โดยมี มร. ไมเคิล ฉง รองประธาน เกรท วอลล์ มอเตอร์ (ประเทศไทย) นายวิลาศ...
บ้านเดี่ยว ราชพฤกษ์ ครบครันทุกสิ่งอำนวยความสะดวก
ย่านราชพฤกษ์นับว่าเป็นอีกหนึ่งทำเลทอง เหมาะมากสำหรับคนรุ่นใหม่ที่กำลังมองหาที่อยู่อาศัยที่ไม่ไกลจากตัวเมือง ในบรรยากาศอันเงียบสงบ แต่ยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบครัน มาดูกันว่าเพราะอะไร โครงการบ้านเดี่ยว ราชพฤกษ์จึงเหมาะกับคนรุ่นใหม่เช่นคุณ Read More Credit : ข่าวประชาสัมพันธ์ โพสต์ทูเดย์
เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ อินดัสเทรียล (ประเทศไทย) เปิดตัวเจนฯใหม่ โรงงานมาตรฐานคอนเซ็ปต์ Smart & Sustainable ขานรับดีมานด์ด้านความยั่งยืนกลุ่มลูกค้าอินเตอร์ ประเดิมผู้เช่าจากเยอรมนี บริษัท ซีล-อาเบกก์ (ประเทศไทย) จำกัด เป็นรายแรก
• เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ อินดัสเทรียล (ประเทศไทย) เดินหน้ายกระดับมาตรฐานของอสังหาริมทรัพย์เพื่ออุตสาหกรรมด้วยการเปิดตัวโรงงานเจเนอเรชั่นใหม่แบบสร้างตามความต้องการของลูกค้า ตอบรับเทรนด์ด้านความยั่งยืนเป็นสำคัญ โดยเน้นการประยุกต์ใช้นวัตกรรมการก่อสร้างและวัสดุการก่อสร้างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ใช้อาคารโรงงานทุกกลุ่ม • โรงงาน Built-to-Suit โมเดลใหม่แห่งแรกนี้ ได้รับการพัฒนาเพื่อใช้เป็นสถานที่ผลิตและจัดเก็บสินค้าเพิ่มเติมแห่งที่ 4 ให้แก่ บริษัท ซีล-อาเบกก์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทชั้นนำในการพัฒนาและการผลิตพัดลมอุตสาหกรรม มอเตอร์พัดลม และระบบการควบคุมทุกชนิดของงานอุตสาหกรรม ด้วยพื้นที่ใช้สอยรวมทั้งสิ้นกว่า 6,800...
สอศ.ปฐมนิเทศครูผู้ช่วยอาชีวศึกษา ปี 2565 รอบแรก “ครูเป็นอาชีพที่มีเกียรติสูงสุด”
27 เมษายน 2565 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) จัดการปฐมนิเทศผู้สอบแข่งขันได้ที่จะบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ดำรงตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสอศ. โดยมี ดร.สุเทพ แก่งสันเทียะ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานให้โอวาท ณ วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี Read More Credit : ข่าวประชาสัมพันธ์ โพสต์ทูเดย์
เทวรูปพระเจ้าปราสาททอง ที่พระราชวังบางปะอิน มาจากไหน ใครสร้าง
ใน “การเมือง ‘อุบายมายา’ แบบมาคอาเวลลี (MACCHIAVELLI) ของพระเจ้าปราสาททอง” (สนพ.มติชน, 2549) สุจิตต์ วงษ์เทศ รวบรวมบทความเกี่ยวกับสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง หวังให้มีผู้วิเคราะห์อย่างกว้างขวาง หนึ่งในนั้นคือ “เทวรูปพระเจ้าปราสาททอง ที่บางปะอิน” ของ ส.พลายน้อย ที่อธิบายถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ของพระเจ้าปราสาททอง, บางปะอิน, ความศักดิ์สิทธ์ของเทวรูปพระเจ้าปราสาททอง ฯลฯ ซึ่งเป็นมิติหนึ่งที่เกี่ยวกับพระเจ้าปราสาทอง โดยคัดย่อมาเพียงบางส่วนดังนี้ (จัดย่อหน้าใหม่และสั่งเน้นคำโดยผู้เขียน) ผู้ที่ไปเที่ยวชมพระราชวังบางปะอินส่วนมาก เมื่อเที่ยวชมพระที่นั่งต่างๆ แล้วก็มักจะแวะนมัสการเทวรูปพระเจ้าปราสาททองที่ประดิษฐานอยู่ ณ หอเหมมณเฑียรเทวราชนั้นด้วย เพราะถือว่าเป็นเทวรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ แต่ก็เห็นจะมีน้อยคนนักที่จะทราบเรื่องราวละเอียดของเทวรูปและหอเหมมณเฑียร ว่าได้เกิดขึ้นอย่างไร… เรื่องที่จะมีเทวรูปและศาลพระเจ้าปราสาททองที่บางปะอินนั้น...
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมนายอำเภอ และหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย ครั้งที่ 4/2565
วันที่ 28 เมษายน 2565 เวลา 08.00 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมนายอำเภอ และหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย ครั้งที่ 4/2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดสมุทรปราการ โดยมี นายศุภมิตร ชิณศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ นายชัยพจน์ จรูญพงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ นายเจนเจตน์ เจนนาวิน...
พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2565) ฉบับที่ 3
ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 28 เมษายน 2565ในช่วงวันที่ 28 เม.ย. – 2 พ.ค. 65 ลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมบริเวณประเทศไทยตอนบนจะมีกำลังแรงขึ้น ประกอบกับในช่วงวันที่ 1 – 2 พ.ค. 65 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนจะแผ่ลงมาปกคลุมภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงหนือ และทะเลจีนใต้ ในขณะที่ประเทศไทยตอนบนมีอากาศร้อนถึงร้อนจัด ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ...
ชนชั้นนำกับพระพุทธบุษยรัตน์ พระแก้วผลึกที่ร.4-กรมดำรงฯ ทรงชม “งาม-หาที่เปรียบไม่ได้”
พระพุทธบุษยรัตน์ (ภาพจาก Facebook / กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมศิลปากร) ผู้เขียน รัชตะ จึงวิวัฒน์ เผยแพร่ วันจันทร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ.2565 พระพุทธรูปสำคัญในไทยล้วนแต่มีความงามอันเป็นเอกลักษณ์ แต่หากจะพูดถึงพระพุทธรูปแก้วผลึกที่สำคัญและงดงามจนเป็นที่หมายปองของชนชั้นนำหลากหลายดินแดน ต้องมีพระพุทธบุษยรัตน์ หรือ “พระพุทธบุษยรัตนจักรพรรดิพิมลมณีมัย” พระแก้วผลึกซึ่งรัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่า “…งามยิ่งนักหนา หาที่เปรียบไม่ได้… “ ขณะที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเห็นว่า “…ทำงามยิ่งกว่าพระแก้วอย่างเดียวกันแม้ขนาดย่อมๆ ที่ได้เคยมีมา”...
ถนนเจริญกรุง ฝุ่นจับ-สกปรก มี “ตรอกอาจม” ร.5 ทรงกำชับทำให้สะอาดก่อนต่างชาติมา
รถรางจอดบน ถนนเจริญกรุง ใกล้เสาไฟฟ้า ภาพจากหนังสือ Siam (1913) โดย Walter Armstrong Graham ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ทรงย้ายราชธานีมาสร้างกรุงเทพฯ บ้านเมืองก็มีวิวัฒนาการเรื่อยมา เริ่มต่อเติมสร้างถนนหลายจุดในแต่ละรัชสมัย จนมาถึงช่วงรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นช่วงที่บ้านเมืองถูกพัฒนาในหลายด้าน และเป็นที่รู้กันว่า ถนนเจริญกรุง ในเวลานั้นเป็นถนนที่ทันสมัย แต่หากย้อนกลับไปก่อนหน้าการปรับปรุง ถนนเจริญกรุงก็เป็นอีกหนึ่งจุดที่มีบันทึกว่าฝรั่งติเตียนเรื่องความสกปรกกันด้วย บันทึกทั้งของชาวไทยและชาวต่างชาติในช่วงรัชสมัยรัชกาลที่...
ตามรอย “สมบัติพระปิ่นเกล้า” จากแคนที่ทรงโปรด ถึงวังสีทา กลายเป็นข้อมูลหายาก
พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ในมุมมองของผู้สนใจศึกษาสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ไปจนถึงนักสะสมที่ชื่นชอบของโบราณต่างมองว่า หนังสือและข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว มีไม่มากเท่าที่ควรจะเป็น ความคิดเห็นของเอนก นาวิกมูล นักเขียน นักสะสม และคอลัมนิสต์ หนังสือและรูปของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าที่เข้าถึงได้ก็ยังไม่สามารถคลายปมข้อกังขาบางประการได้ เป็นที่ทราบกันว่า กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ หรือเจ้าฟ้าน้อย พระอนุชาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือที่ออกพระนามกันว่า “วังหน้า” ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงโปรดแคนเป็นพิเศษ แต่จากการสืบค้นของเอนก นาวิกมูล ผู้เขียนบทความ “สมบัติพระปิ่นเกล้า” ในนิตยสาร...
บุคลิกภาพ-หน้าตา-นิสัย “คนไทย” เมื่อ 170 กว่าปีก่อน ในบันทึกของฝรั่ง
ภาพจาก“ชีวิตความเป็นอยู่ในกรุงสยามในทรรศนะของชาวต่างประเทศ ระหว่างพ.ศ. 2383-2384 (ค.ศ. 1840-1841)” กรมศิลปากร 2525 คนไทยด้วยกันเห็นหน้ากันนาน เห็นพัฒนาการที่เปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไป จนรู้สึกว่าไม่แปลก แต่ในช่วง 170 กว่าปีนี้หน้าตาคนไทย, บุคลิกภาพคนไทย, นิสัยใจคอ เปลี่ยนไปมาก-น้อยเพียงใด แล้วสำหรับ “คนนอก” ภาพแรกที่เห็นและจดจำ เป็นอย่างไร ซึ่งในบรรดาคนนอกทั้งหลาย มี นายเฟรริค อาร์เธอร์ นีล ชาวอังกฤษที่รักการท่องเที่ยว...
สมัย ร.4 รัฐเก็บภาษีเพิ่ม 14 ชนิด ชดเชยรายได้ที่หายไปจากสัญญาเบาริ่ง จนเกิดจลาจล
เซอร์ จอห์น เบาริ่ง ผู้มีส่วนสำคัญในการทำสัญญาเบาริ่ง ประกอบกับฉากหลังเป็นภาพ วัดปทุมวนาราม ในสมัยรัชกาลที่ 4 (ภาพจากสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ) เมื่อสยามต้องยกเลิกการผูกขาดสินค้าต่างๆ ตามสนธิสัญญาเบาริ่งที่ทำกับอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2398 รัฐบาลจึงขาดรายได้จากการจัดเงินภาษีอากรจากประชาชนในประเทศเพิ่มขึ้น หากเรื่องนี้ก็ทำให้ปัญหาความไม่สงบภายในประเทศ จนสื่อต่างชาตินำเสนอเป็นข่าว และเจ้าหน้าที่สถานทูตอังกฤษประจำกรุงเทพฯ ร้องขอความคุ้มครองจากอังกฤษ ไกรฤกษ์ นานา เรียบเรียงเรื่องนี้ไว้ในบทความ “‘กรณีจลาจล’ ภายหลังสนธิสัญญาเบาริ่ง และเซอร์จอห์นถูกกดดันให้พ้นจากตำแหน่ง” (นิตยสาร...
ประวัติศาสตร์ต้องบันทึก ครั้งหนึ่งญี่ปุ่น “กู้เงิน” จากไทยกว่า 1,500 ล้านบาท
กองทัพญี่ปุ่นซึ่งเข้ามาใช้สวนลุมพินีเป็นค่ายทหาร บันทึกเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2485 (ภาพจาก ธงชัย ลิขิตพรสวรรค์ ) เห็นชื่อเรื่องแล้วท่านผู้อ่านอาจคิดว่า นี่เป็นเรื่องขายขำ เพื่อให้กดไลค์ กดแชร์ แต่ต้องยืนยันว่านี้เป็นเรื่องจริง ไม่ได้โม้ “ญี่ปุ่น” หนึ่งในประเทศพัฒนาแล้วระดับแนวหน้าในปัจจุบัน ครั้งหนึ่งเคยกู้เงินจากประเทศกำลังพัฒนาอย่างประเทศไทย แต่ได้โปรดอย่าเพิ่งด่วนดีใจ/ภาคภูมิใจ กรุณาอ่านให้จบก่อน การกู้เงินของดังกล่าวเกิดขึ้นในระหว่างปี 2484-2488 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่...
ข่าวลือ “รัฐประหาร” และการแบ่งขั้วอำนาจในกองทัพ สมัยรัฐบาล “จอมพลสฤษดิ์”
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ขึ้นมามีบทบาททางการเมืองมาตั้งแต่หลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2490 และได้มาเป็นตัวแสดงหลักทางการเมืองไทยนับแต่นั้น โดยเขาได้รัฐประหารล้มรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่มีข้อครหาในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2500 ว่าเป็นการเลือกตั้งสกปรก ในที่สุดวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์ก็ได้รัฐประหารล้มรัฐบาลจอมพล ป. ทำให้จอมพล ป. ต้องลี้ภัยไปญี่ปุ่น ทางด้าน พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ เพื่อนรักเพื่อนร้ายของจอมพลสฤษดิ์ก็ลี้ภัยไปสวิตเซอร์แลนด์ หลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์มีภาพลักษณ์เป็นวีรบุรุษที่จะนำประชาธิปไตยมาให้กับประชาชน หลังจากผ่านยุคสมัยที่ยาวนานและการโกงเลือกตั้งของจอมพล ป. มา ทั้งยังไม่รับอำนาจไว้เอง โดยแต่งตั้งให้นายพจน์ สารสิน เป็นนายกรัฐมนตรี สาเหตุที่จอมพลสฤษดิ์ไม่รับตำแหน่งเอง อิทธิเดช พระเพ็ชร มองว่ามาจากเหตุผลสำคัญ 2 ประการ คือ 1. จอมพลสฤษดิ์...
ทำไมเจ้าจอมพระสนมในรัชกาลที่ 5 มีสกุล “บุนนาค” มากกว่าสกุลอื่น
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นต้นมา ชนชั้นนำทางสังคมส่วนใหญ่เป็นเพศชายและพวกเขามักเป็นกลุ่มคนที่กำหนดโครงสร้างทางสังคมอันรวมไปถึงสถาบันครอบครัว มีกฎหมายที่ระบุนิยามและกำหนดความชอบธรรมสำหรับกรณีมี “เมีย” หลายราย แต่เมื่อมาถึงช่วงต้นรัตนโกสินทร์ เหตุผลสำหรับการมีเมียมากกว่าหนึ่งคนเริ่มเปลี่ยนแปลงไป ความสัมพันธ์ระหว่างชายหญิงในสถาบันครอบครัวในสมัยโบราณเป็นอีกหนึ่งประเด็นที่นักวิชาการประวัติศาสตร์ศึกษาข้อมูลกันมานานแล้ว รศ.ดร. ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ จากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศึกษาเรื่องระบบผัวเดียวหลายเมียในสังคมไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2528 แล้ว หากย้อนกลับไปตั้งแต่สมัยสุโขทัย ฝ่ายชายเป็นผู้มีอำนาจทางเศรษฐกิจ เพราะเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัว ผู้หญิงอยู่ในบ้าน สังคมสมัยสุโขทัยไม่ได้ห้ามชายมีภรรยาหลายคน แต่ใช้ระบบศีลธรรมเป็นตัวควบคุม ผู้ที่มีภรรยาหลายรายจะถูกตำหนิจากสังคม...
เบื้องหลังเรื่องระหองระแหงระหว่าง รัชกาลที่ 4 กับ โอบาเรต์ ทูตฝรั่งเศส
รัชกาลที่ 4 ฉลองพระองค์อย่างเครื่องแบบนายทหารเรือสหรัฐอเมริกา ฉายเมื่อ พ.ศ. 2411 ที่มา ศิลปวัฒนธรรม. ฉบับเดือนมกราคม 2547 ผู้เขียน ไกรฤกษ์ นานา เผยแพร่ วันจันทร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ.2565 ปลายรัชกาลที่ 4 ประมาณปี พ.ศ. 2409 (ค.ศ....
กทม. ป้องกันเด็กหลุดจากระบบการศึกษา เดินหน้าโครงการ “พาน้องกลับมาเรียน” เตรียมเปิดภาคเรียนที่ 1 รูปแบบ On Site ภายใต้มาตรการป้องกันโควิด
กทม. ป้องกันเด็กหลุดจากระบบการศึกษา เดินหน้าโครงการ “พาน้องกลับมาเรียน” เตรียมเปิดภาคเรียนที่ 1 รูปแบบ On Site ภายใต้มาตรการป้องกันโควิด นายขจิต ชัชวานิชย์ ปลัดกรุงเทพมหานคร เปิดเผยว่า กรุงเทพมหานครได้เตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งการจัดเตรียมอาคารสถานที่ ครู และอุปกรณ์การเรียนการสอนในรูปแบบ On Site และรูปแบบอื่น...