ติดตามผ่านช่อง : Siammongkol Youtube Channel

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามันตอนบน (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 1

ฉบับที่ 1 ลงวันที่ 03 กรกฎาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยมีกำลังค่อนข้างแรง ลักษณะเช่นนี้ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันตอนบนมีกำลังค่อนข้างแรง โดยมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนบริเวณอ่าวไทยตอนบนทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือในบริเวณดังกล่าวเดินเรือด้วยความระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง สำหรับเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันตอนบนควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่ 6...

พายุโซนร้อนกำลังแรง “ชบา” (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 13

ฉบับที่ 13 ลงวันที่ 02 กรกฎาคม 2565เมื่อเวลา 19.00 น. ของวันนี้ (2 ก.ค. 65) พายุไต้ฝุ่น “ชบา” (CHABA) ที่ปกคลุมบริเวณมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีนตอนใต้ได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อนกำลังแรงแล้ว และเมื่อเวลา 22.00 น. มีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 22.2 องศาเหนือ ลองจิจูด 110.7...

พายุไต้ฝุ่น “ชบา” (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 12

ฉบับที่ 12 ลงวันที่ 02 กรกฎาคม 2565เมื่อเวลา 16.00 น. ของวันนี้ (2 ก.ค. 65) พายุไต้ฝุ่น “ชบา” (CHABA) ที่ปกคลุมบริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนได้เคลื่อนขึ้นฝั่งบริเวณมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีนตอนใต้แล้ว โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 21.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 111.0 องศาตะวันออก ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ...

อ่านมุมมองนักวิชาการ ทำไมคนไทยเริ่มออกเดินทางท่องเที่ยวตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ภาพจากสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ) ที่มา ศิลปวัฒนธรรม มกราคม 2534 ผู้เขียน รศ.ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เผยแพร่ วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2565 คําทักทายที่คนไทยใช้กันมากทั่วไปคําหนึ่งในเวลาพบกันคือ “ไปไหน” หรือ “ไปไหนมา” คําตอบที่ได้อย่างเป็นอัตโนมัติคือ “ไปเที่ยว” คําทักทายนี้เข้าใจว่าจะใช้กันระหว่างเพื่อนหรือคนที่คุ้นเคยกันพอสมควร ในหมู่บ้านหรืออําเภอที่ผู้คนรู้จักมักคุ้นกันตั้งแต่เกิด หรือกระทั่งรู้จักพ่อแม่ปู่ย่าตายาย การทักทายว่า “ไปไหน” หรือ...

หมูสายพันธุ์ต่างชาติ? ที่นำเข้าในไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5

ภาพประกอบบทความจากห้องสมุดภาพมติชน   การเลี้ยงหมูในอดีตของไทย เป็นการเลี้ยงแบบปล่อยตามบ้าน โดยใช้เศษอาหาร, เศษผัก และหยวกกล้วย เป็นต้น หรือเลี้ยงเพื่อให้มันช่วยกำจัดอาหารเหลือกินจากครัวเรือน ซึ่งส่วนใหญ่ หมู ที่เลี้ยงจะเป็นเพศเมีย เพราะสามารถให้ลูกไว้เลี้ยงต่อไปได้อีก โดยหมูที่เลี้ยงมักจะเป็นพันธุ์พื้นเมืองที่แตกต่างกันไปในแต่ภูมิภาค ตัวอย่างเช่น ภาคเหนือ หมูที่เลี้ยงมักเป็นพันธุ์ควาย บ้างเรียกว่า หมูตาขาว เพราะมีสีขาวรอบๆ ขอบตา เป็นหมูที่ลำตัวและโครงใหญ่ อาจมีน้ำหนักถึง 160-180 กิโลกรัม...

แรกใช้ “น้ำมัน” ในสยาม เมื่อ 130 ปีก่อน สั่งซื้อจากไหน?

เรือบรรทุกน้ำมันลำแรกของโลก ชื่อ “มิวเร็กซ์” ของบริษัท เชลล์ ทรานสปอร์ต แอนด์ เทรดดิ้ง ขนส่งน้ำมันก๊าด “ตรามงกุฎ” เข้ามายังประเทศไทยเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2435 จำนวน 1,250 ตัน   ไทยสั่งซื้อน้ำมันเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2431 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโดยซื้อ “น้ำมันก๊าด” จากประเทศรัสเซีย เพื่อใช้จุดตะเกียงให้แสงสว่างตามบ้านและถนนหนทาง...

พายุไต้ฝุ่น “ชบา” (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 11

ฉบับที่ 11 ลงวันที่ 02 กรกฎาคม 2565เมื่อเวลา 07.00 น. ของวันนี้ (2 ก.ค. 65) พายุโซนร้อนกำลังแรง “ชบา” (CHABA) ที่ปกคลุมบริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่นแล้ว และเมื่อเวลา 10.00 น. มีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 20.7 องศาเหนือ ลองจิจูด 111.6...

พ่อเมืองอุบลฯ รุกงาน ปชส. ด้าน อบต. ทุกแห่ง ผนึกกำลังหนุนสร้างเครือข่ายอาสาสมัครประชาสัมพันธ์หมู่บ้าน พร้อมเสริมบทบาทเป็นนักประชาสัมพันธ์ แก่กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต ใช้หอกระจายข่าว เพิ่มประสิทธิภาพงานสื่อสารสู่ชุมชน ดีเดย์ เปิดฝึกอบรม 6 ก.ค.- 26 ส.ค.65

นายพงศ์รัตน์ ภิรมย์รัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เปิดเผยว่า จากแนวทางของนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในการสร้างการรับรู้และเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชน จังหวัดอุบลราชธานี ได้กำหนดให้งานสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนในข้อมูลข่าวสารของนโยบายภาครัฐและประเด็นสำคัญของจังหวัด เป็น 1 ใน 9 แนวทางการบริหารงานราชการของผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี จึงได้อนุมัติโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการประชาสัมพันธ์ระดับพื้นที่หมู่บ้านและชุมชน โดยมอบหมายให้สำนักประชาสัมพันธ์เขต 2 ดำเนินการฝึกอบรมและพัฒนากำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิก อบต. ในทุกหมู่บ้านของจังหวัด เพื่อให้มีความรู้...

จังหวัดนครสวรรค์ จัดกิจกรรม “ปั่นสองล้อ เลาะชุมชน” ที่อำเภอหนองบัว

วันนี้ (2 กรกฎาคม 2565) เวลา 06.45 น. นางสาวชุติพร เสชัง รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ เป็นประธานพิธีเปิดโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาจังหวัดนครสวรรค์ประจำปีงบประมาณ 2565 กิจกรรมปั่นสองล้อ เลาะชุมชน และร่วมปั่นจักรยาน ณ เทศบาลตำบลหนองบัว อ.หนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ โดยมี นางเกศกนก เดชมา ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดนครสวรรค์ กล่าวรายงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 200 คน...

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงแรงงานในพื้นที่จังหวัดตรัง พร้อมด้วยส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ร่วมบูรณาการตรวจคุ้มครองแรงงานในเรือประมงทะเล ประจำปีงบประมาณ 2565

วันนี้ (2 กรกฎาคม 2565) นางอมรวรรณ ช่วงเพ็ชจินดา แรงงานจังหวัดตรัง เปิดเผยว่า หน่วยงานในสังกัดกระทรวงแรงงานในพื้นที่จังหวัดตรัง พร้อมด้วยส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ร่วมบูรณาการตรวจคุ้มครองแรงงานในเรือประมงทะเล ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อตรวจสภาพการจ้างงาน และสภาพการทำงานของแรงงานประมงทะเลในเรือประมง ให้ได้รับการคุ้มครองสิทธิตามกฎหมาย โดยจังหวัดตรัง เป็น 1 ในพื้นที่ 22 จังหวัดติดทะเล ที่จะต้องดำเนินการสุ่มตรวจแรงงงานประมงกลางทะเลให้ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ด้านนายสุรสิงห์ จุนณศักดิ์ศรี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดตรัง กล่าวว่า...

มทร.ศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คว้ารางวัล AIC Award 2022 ประเภทนวัตกรรมยอดเยี่ยม สาขานวัตกรรมเกษตรเพื่อเศรษฐกิจ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุพัชชา ชูเสียงแจ้ว คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง ในการสร้างผลงานการวิจัยเรื่อง “นวัตกรรมการเลี้ยงหอยนางรมเพิ่มความหนาแน่นสูง” ซึ่งได้รับคัดเลือกรับรางวัล AIC Award ประจำปี 2022 รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ประเภทนวัตกรรมยอดเยี่ยม สาขานวัตกรรมเกษตรเพื่อเศรษฐกิจ ผลงานวิจัยชุมขนนวัตกรรม 2563 สู่งาน AIC ระดับจังหวัด ณ ห้องประชุม 115...

ประกันสังคมจังหวัดยะลา จ่ายสิทธิผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ช่วยเหลือประชาชน

ประกันสังคมจังหวัดยะลา ลงพื้นที่เยี่ยมให้กำลังใจ ผู้ประกันตนมาตรา 40 หลังคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาให้ได้รับเงินช่วยเหลือเดือนละ 1,000 บาทเป็นเวลา 15 ปี เนื่องจากป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง นางเยาวดี เพชรเกลี้ยง ประกันสังคมจังหวัดยะลา พร้อมด้วย นางชวนชม บัวอนนท์ จัดหางานจังหวัดยะลา นายสุรเชษฐ์ สุทธิกุล ประชาสัมพันธ์จังหวัดยะลา และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงแรงงาน ลงพื้นที่เยี่ยมให้กำลังใจ พร้อมมอบสิ่งอุปโภค-บริโภค แก่นางสีตีฮาวอ ดามาลา ที่บ้านเลขที่...

“ ขบวนรถไฟหรรษา” เตรียมบริการนักวิ่งยะลามาราธอน ชมเมือง

อบต.หน้าถ้ำ จับมือ เทศบาลนครยะลา เตรียมรถไฟ ต้อนรับนักวิ่ง ยะลามาราธอน ชมเมือง ในวันรับอุปกรณ์-เสื้อ 29-30 กรกฎาคมนี้ เทศบาลนครยะลา จับมือ อบต.หน้าถ้ำ อ.เมืองยะลา เตรียมนำ “ปู๊นๆ รถไฟหรรษา” บ้านบันนังลูวา ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ซึ่งจะวิ่งประจำอยู่ในสถานที่ท่องเที่ยว วิวเชิงเขา หน้าถ้ำ สำหรับนำนักท่องเที่ยว ชมวิว ที่ชื่นชอบ ถูกใจบรรดาเด็ก...

ร.6 ทรงบันทึก ทอดพระเนตรปาฏิหาริย์ “พระปฐมเจดีย์” สว่างโพลงทั้งองค์

ภาพมุมสูงพระปฐมเจดีย์ในปัจจุบัน (ภาพจาก โดรนมติชนทีวี)   กว่า 60 ชีวิตเห็นปาฏิหาริย์ “พระปฐมเจดีย์” สว่างโพลงทั้งองค์ รัชกาลที่ 6 ทรงบันทึกและจดหมายกราบทูล ร.5 ทรงตอบว่าเคยทอดพระเนตร 2 ครั้งเช่นกัน เหตุเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ร.ศ. 128 (พ.ศ. 2452) สมเด็จพระพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ (รัชกาลที่ 6) ทรงบันทึกไว้ในจดหมายเหตุรายวัน รัตนโกสินทร์ศก 128...

กรมฝนหลวงและการบินเกษตรแจ้งปิดหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจังหวัดสุรินทร์

กรมฝนหลวงและการบินเกษตร แจ้งปิดหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจังหวัดสุรินทร์ กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ปรับแผนปฏิบัติการฝนหลวงประจำเดือนกรกฎาคม 2565 ได้ให้ศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง คงหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้เครื่องบินกรมฝนหลวงและการบินเกษตรชนิด Super King Air-350 จำนวน 1 ลำ เครื่องบินชนิด CARAVAN จำนวน 3 ลำ และเครื่องบินชนิด AU-23 จำนวน 2 ลำ คงหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจังหวัดอุบลราชธานี...

ความเสื่อมของคลองรังสิต ที่ “เอาไม่อยู่” ไม่ว่าฝนแล้ง หรือน้ำหลาก

ชาวนาในทุ่งรังสิต (ภาพจาก “ประวัติคลองรังสิต การพัฒนาที่ดินและผลกระทบต่อสังคม พ.ศ. 2431-2457” )   โครงการรังสิต หรือโครงการขุดคลองในพื้นที่ทุ่งรังสิต (คลองรังสิต) เป็นโครงการเพื่อการชลประทานอย่างเป็นระบบแห่งแรกของประเทศ ที่ตั้งใจจะเปลี่ยนพื้นที่รกร้างว่างเปล่าให้กลายเป็นแปลงเพาะปลูกข้าว ซึ่งแตกต่างไปจากการขุดคลองก่อนหน้านั้น เช่น คลองแสนแสบ คลองมหาสวัสดิ์ ฯ เพื่ออำนวยความสะดวกในการคมนาคม ส่วนการทำนาทำสวนเป็นเพียงผลพลอยได้ แต่ความเดือดร้อนในเรื่อง “น้ำ” สำหรับใช้ทำนาในพื้นที่ทุ่งรังสิต ก็ยังเกิดขึ้นโดยตลอด ซึ่งสาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งมาจากสภาพของคลองรังสิตเอง การที่คลองรังสิตตื้นเขินไม่ได้รับการขุดลอกมาตั้งแต่ปี 2449...

วังนางเลิ้ง ของกรมหลวงชุมพรฯ เป็นที่โล่งก่อนตั้งวัง ไฉนกลายเป็นสถานที่ซึ่งถูกลืม?

ภาพถ่ายทางอากาศช่วงหลังสงคราม มองเห็นวังนางเลิ้งและทำเนียบรัฐบาล ซึ่งแต่เดิมคือบ้านนรสิงห์ของเจ้าพระยารามราฆพ ที่มา ศิลปวัฒนธรรม กันยายน 2544 ผู้เขียน สุรินทร์ มุขศรี เผยแพร่ วันเสาร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ.2565 พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ทรงเป็นศิษย์ที่เลื่อมใสในวิชาไสยศาสตร์ของหลวงปู่ศุข แห่งวัดปากคลองมะขามเฒ่า และมีความสนิทสนมกันมาก จนถึงขนาดให้สร้างกุฏิขึ้นในวังนางเลิ้งสำหรับหลวงปู่นาพำนักเวลามากรุงเทพฯ วังนางเลิ้งนั้นตั้งอยู่ตรงไหน ปัจจุบันมีสภาพเป็นอย่างไร และกุฏิของหลวงปู่ศุขที่ในวังยังมีอยู่หรือไม่...