ติดตามผ่านช่อง : Siammongkol Youtube Channel

อากาศแปรปรวนบริเวณประทศไทยตอนบนและฝนตกหนักบริเวณภาคใต้ ฉบับที่ 6

ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2565บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางแผ่ปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทำให้บริเวณดังกล่าวอุณหภูมิลดลงกับมีลมแรง โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนืออุณหภูมิจะลดลง 2-4 องศาเซลเซียส ส่วนภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก อุณหภูมิจะลดลง 1-3 องศาเซลเซียส สำหรับภาคกลางตอนล่างยังคงมีฝนตกหนักบางแห่งเกิดขึ้นในวันที่ 11 ตุลาคม 2565 ขอให้ประชาชนระวังอันตรายจากสภาพอากาศแปรปรวนที่มีฝนตกหนัก ลมกระโชกแรง และอุณหภูมิลดลง รวมถึงดูแลสุขภาพไว้ด้วย สำหรับร่องมรสุมที่พาดผ่านภาคใต้ตอนกลางทำให้ภาคใต้มีฝนตกหนักถึงหนักมากในระยะนี้...

DGA ร่วมลงนามกับกระทรวงการคลัง และสำนักงานสำนักงาน ก.ล.ต. ในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลระบบศูนย์กลางบริการภาครัฐเพื่อภาคธุรกิจ หรือเว็บไซต์ bizportal.go.th เพื่อการยื่นคำขอและการออกใบอนุญาต E-licensing

สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ DGA ร่วมลงนาม ระหว่างกระทรวงการคลัง และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สำนักงาน ก.ล.ต.) โดยมี นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ให้เกียรติเป็นประธานและร่วมเป็นสักขีพยานในการลงนามข้อตกลงการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลระบบศูนย์กลางบริการภาครัฐเพื่อภาคธุรกิจ เพื่อการยื่นคำขอและการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-licensing) ในวันที่ 10 ตุลาคม 2565 ณ สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง โดยข้อตกลงดังกล่าวมีวัตถุประสงค์หลักในการกำหนดสิทธิและหน้าที่ของหน่วยงานแต่ละฝ่ายในการให้บริการสำหรับการยื่นคำขอและการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Licensing)...

สมัยแรก พระป่า-พระธรรมยุต ก่อนพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เป็นอย่างไร

พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต เมื่อกล่าวถึง “พระป่า” ภาพที่นึกถึงก็เป็น พระที่ออกไปธุดงค์ แสวงหาสถานที่สงบๆ เพื่อบำเพ็ญสมาธิภาวนา โดยพระป่าที่ได้รับการยกย่องในสายพระป่าที่ได้รับการยอกย่องเป็น “พระอาจารย์ใหญ่สายวัดป่า” ก็ต้องยกให้ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ที่มีศิษย์เป็นพระธุดงคกรรมฐาน ที่ชาวบ้านศรัทธาจำนวนมาก โดยเฉพาะทางจังหวัดอุดรธานี หนองคาย นครพนม สกลนคร อุบลราชธานี นครราชสีมา ขอนแก่น ฯลฯ แล้วก่อนหน้า พระอาจาย์มั่น ภูริทัตโต พระป่า-ธรรมยุต สมัยแรกเป็นอย่างไร คำถามนี้ ธัชชัย...

“รักที่จากไปไกล” ของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกฯ คนแรกของไทย

พระยามโนปกรณ์นิติธาดาและคุณหญิงนิตย์ (ภาพจาก หอจดหมายเหตุแห่งชาติ) ชีวิตสมรสของพระยามโนปกรณ์นิติธาดานั้นเริ่มจากการพบรักกับคุณนิตย์ สาณะเสน บุตรีพระยาวิสูตรโกษา (ฟัก สาณะเสน) และคุณหญิงสมบุญ ที่ลอนดอน ภายหลังที่คุณนิตย์กลับจากประเทศอังกฤษแล้ว ได้มีการจัดงานสมรสเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455 คุณนิตย์ในเวลาต่อมาได้เป็นคุณหญิงมโนปกรณ์นิติธาดา แม้ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน แต่ก็มีชีวิตสมรสที่ราบรื่นตลอดมา คุณหญิงนิตย์ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการเป็นนางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รวม 2 วาระ วันที่...

เปิดโฉมหน้าหน่วยประมวลข่าวสงครามเฉพาะกิจของไทย สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2

(ซ้าย) หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ (พระยศในขณะนั้นของพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์) 
ประธานกรรมการพิจารณาประมวลข่าวในยามฉุกเฉิน 
(ภาพจากหนังสือ “100 ปี พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์”), (ขวา) หลวงสิทธิสยามการ (สิทธิ ฮุนตระกูล) รองประธานกรรมการพิจารณาประมวลข่าวในยามฉุกเฉิน 
(ภาพจากหนังสือ “สัญญาทางพระราชไมตรี ระหว่างสยามกับต่างประเทศ โดย หลวงสิทธิสยามการ”) “กรรมการพิจารณาประมวลข่าวในยามฉุกเฉิน” เปิดโฉมหน้าหน่วยประมวลข่าวสงครามเฉพาะกิจของไทย...

“เขมร” ไม่เรียกตัวเองว่า “ขอม” ไม่มีคำว่าขอมในภาษาเขมร คำว่า “ขอม” มาจากไหน?

ภาพวาดนครวัดจากหนังสือ Voyage d’exploration en Indo-Chine เมื่อ ค.ศ. 1866 “ขอม เป็นคำภาษาไทย กลายจากภาษาเขมร ใช้เรียกกลุ่มคนพวกที่อยู่ตอนล่าง (ในไทย) บริเวณเป็นรัฐละโว้ (ลพบุรี) เมื่อเรือน พ.ศ. 1800 โดยไม่ระบุจำเพาะเผ่าพันธุ์ใด หลังจากนั้นอีกนานขอมจึงเลื่อนไปหมายถึงชาวเขมร (ในกัมพูชา) ขอมเป็นชื่อทางวัฒนธรรม ดังนั้นไม่เป็นชื่อชนชาติหรือเชื้อชาติ จึงไม่มีชนชาติขอม หรือเชื้อชาติขอม ฉะนั้นใคร...

ฝรั่งบันทึกคนไทยในอดีตเชื่อโชคลาง ภูตผีปีศาจ และของขลังแค่ไหน

อ็องรี มูโอต์ (ค.ศ. 1826-1861) อ็องรี มูโอต์ (ค.ศ. 1826-1861) นักโบราณคดี นักสำรวจ นักธรรมชาติชาวฝรั่งเศส ที่ออกเดินทางสำรวจราชอาณาจักรสยาม, กัมพูชา และลาว ถึง 4 ครั้ง ระหว่างตุลาคม ค.ศ. 1858-ตุลาคม ค.ศ.1861 (ตรงกับช่วงรัชกาลที่ 3-4) มูโอต์ รวบรวมข้อมูลที่พบเห็นเขียนบันทึกสิ่งที่พบเจอ ซึ่งสิ่งหนึ่งที่มูโอต์กล่าวถึงก็คือ “คติความเชื่อของคนไทย” ที่ว่า...

Girl Scouts เมื่อ 100 กว่าปีก่อน เนตรนารีกองแรกของไทย เรียนและฝึกอะไรกัน

เนตรนารีรุ่นแรกของวังหลัง พ.ศ. 2458 (จากซ้าย) น.ส. หนุ่ย โชติกเสถียร, น.ส. สาย นรินทรางกูร (นางนรพรรคพฤฒิกร), มิสแมคค็อด (อาจารย์), น.ส. จี๊ สรรกุล, น.ส. สงัด วีระเธียร (สงัด สกุลกัน), น.ส. ผิว ฮิกส์, น.ส....

นโยบาย “สันติวิธี” ของสยามบนเวทีสันติภาพโลก สมัยรัชกาลที่ 5

ภาพถ่ายหมู่คณะผู้แทนในการประชุมสันติภาพนานาชาติ ณ กรุงเฮก พ.ศ. 2442 พระยาสุริยวัตร หัวหน้าคณะผู้แทนไทย ยืนอยู่แถวที่ 2 คนที่ 4 จากขวามือ (ภาพจาก www.wikimedia.org) ประเด็นเกี่ยวกับขบวนการก่อการร้ายข้ามชาติ, วิกฤตขีปนาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคต่างๆ, ผู้อพยพลี้ภัยสงคราม ฯลฯ ล้วนแต่เป็นหัวข้อหารือบนเวทีสันติภาพโลกอยู่เสมอๆ  เพราะหากโลกมีสันติภาพ ปัญหาเหล่านี้ก็คงไม่เกิดขึ้น นานาชาติจึงได้พยายามหารือเรื่องสันติภาพมากว่า 100 ปีแล้ว รศ.ฉลอง...

ร่องรอย ตำนานเทพนิยายกรีก-โรมัน ในโบราณวัตถุที่ค้นพบในไทย-อินเดีย

ความนำ เป็นที่รู้กันดีว่า อุษาคเนย์เคยค้าขายกับตะวันตก (อินเดียและโลกกรีกโรมัน) อย่างน้อย 2,000 ปีมาแล้ว หลักฐานชิ้นใหญ่ ๆ ที่มีชื่อเสียงคือ ชวาลาสำริดโรมัน พบที่พงตึก จังหวัดกาญจนบุรี (รูปที่ 1) และดินเผารูปคนใส่หมวกทรงกรวยกระดกไปข้างหน้า แบบชาวตะวันออกกลาง (รูปที่ 2) (รูปที่ 1) ชวาลาสำริดโรมัน พบที่พงตึก จังหวัดกาญจนบุรี, (รูปที่...

“คดีปราสาทพระวิหาร” ไทยปฏิเสธอำนาจศาลโลก สู้คดีในศาลฯ อย่างภาคภูมิ ก่อนน้อมรับคำพิพากษา

ปราสาทพระวิหาร ภาพถ่ายเมื่อ 23 มกราคม 2010 (AFP PHOTO / TANG CHHIN SOTHY) ย้อนกลับไปเมื่อราว 50 กว่่าปีก่อน ประเทศไทยมีข้อพิพาทระหว่างประเทศกับกัมพูชาเหนือดินแดนเขาพระวิหาร โดยคดีนี้กัมพูชาได้ยื่นฟ้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) ซึ่งข้อต่อสู้สำคัญของไทยประการหนึ่งคือประกาศไม่ยอมรับอำนาจของศาล ICJ และไทยแต่งทนายเข้าสู้คดีในศาลฯ อย่างภาคภูมิ เหตุที่ไทยปฏิเสธอำนาจของ ICJ ฝ่ายไทยต่อสู้ว่า เนื่องจากไทย “ไม่เคยยอมรับอำนาจของ...

ตามรอย ท่านผู้หญิงขจร ภะรตราชา หนึ่งในนักเรียนไทยรุ่นแรก ที่ได้ไปศึกษา ณ ประเทศญี่ปุ่น

นักเรียนไทยในญี่ปุ่นรุ่นแรก ถ่ายภาพกับครู ลูกหลานของครู และเพื่อน ๆ ที่บ้านในกรุงโตเกียว (ภาพจาก ศิลปวัฒนธรรม ฉบับเมษายน 2530) เมื่อ พ.ศ. 2445 หลังจากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (รัชกาลที่ 6 ในเวลาต่อมา) ระหว่างเสด็จพระราชดำเนินกลับจากการศึกษาที่ประเทศอังกฤษ ได้เสด็จประพาสประเทศญี่ปุ่นทำให้ทรงเห็นความก้าวหน้าของงานหัตถกรรมและศิลปะญี่ปุ่น จึงมากราบบังคมทูล และรับสั่งกับสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ พระราชมารดาความว่า...

กำเนิด “ท่าเรือคลองเตย” บนพื้นที่เมืองพระประแดงเก่าสมัยอยุธยา และวัดโบราณทั้งสี่

ภาพถ่าย ท่าเรือกรุงเทพ หรือ ท่าเรือคลองเตย เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2562 ภาพจาก Lillian SUWANRUMPHA / AFP ท่าเรือกรุงเทพ หรือ ท่าเรือคลองเตย เป็นท่าเรือที่สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2480 เดิมเป็นสวน มีวัดโบราณ 4 วัด และเป็นพื้นที่เมืองพระประแดงเก่า เมืองสำหรับรักษาปากน้ำ ก่อนที่จะมีการนำชื่อพระประแดงไปใช้กับเมืองนครเขื่อนขันธ์ ในหนังสือ สาส์นสมเด็จ ที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ...

กำเนิดประวัติศาสตร์ชนชาติไทย

กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ บริเวณสองฝั่งแม่น้ำโขง (ลายเส้นฝีมือชาวยุโรป พิมพ์ครั้งแรก ค.ศ. 1873) พลเมืองของประเทศไทยปัจจุบันนั้นประกอบด้วยชนเผ่าพันธุ์ต่างๆ เหมือนๆ กับพลเมืองของหลายๆ ประเทศในโลก กลุ่มชนนี้มีทุกขนาดรูปร่าง ทุกสีผิว และท่าทาง มีฐานะต่างๆ ตั้งแต่ชาวนา เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ ทหาร คนขับรถ พ่อค้า นักศึกษา ราชนิกูล หรือพระสงฆ์ โดยรวมๆ แล้วพวกเขาเรียกตัวเองว่า “ไทย” โดยมีนัยยะแห่งความหมายเบื้องต้นทางการเมืองว่า เขาเป็นประชากรของประเทศไทย...

ที่มาของพระราชดำรัสร.5 ถึงกรมพระยาดำรงฯ “เธอกับฉันเหมือนได้แต่งงานกันนานแล้ว”

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชดำรัสกับ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระราชอนุชาคู่พระทัย ขณะทรงถอดพระธำมรงค์จากนิ้วพระหัตถ์พระราชทาน ความตอนหนึ่งว่า “—กรมดำรง เธอกับฉันเหมือนกับได้แต่งงานกันมานานแล้ว ขอให้เธอรับแหวนวงนี้เป็นแหวนที่ฉันได้ใส่อยู่เอง ไว้เป็นของขวัญในวันเกิด—“ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงฯ (ประสูติ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 สิ้นพระชนม์ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว...

รัฐกับความเร็ว : ต่างชาติในอดีตเล่า บางกอกไปเชียงใหม่ ใช้เวลาเท่าบรัสเซลส์ไปบางกอก

ภาพประกอบเนื้อหา – รถไฟสยาม ภาพไปรษณียบัตรเก่าสมัยรัชกาลที่ 5 …ตั้งแต่มีการนำเครื่องจักรไอน้ำมาติดตั้งในพาหนะ การขนส่งในศตวรรษที่ 19 ก็เข้าสู่ยุคสมัยของการปฏิวัติ พาหนะแรกที่เดินด้วยกำลังเครื่องจักรไอน้ำอย่าง “เรือกลไฟ” ได้ท่องไปทั่วมหาสมุทร และเข้าไปมีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองระหว่างประเทศตามการใช้งานของชาติมหาอำนาจ สำหรับประเทศสยาม เรือกลไฟลำแรกที่แล่นเข้ามาถึงกรุงเทพฯ ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 3 จากความสนใจในหมู่ชนชั้นนำทำให้เกิดการวิจัยและพัฒนาในช่วงสั้นๆ ระหว่างรัชกาลที่ 3-รัชกาลที่ 4 [48] เรือกลไฟที่มีบทบาทมากขึ้นก็เข้ามาแทนที่เรือพระราชพิธีในงานระดับรัฐพิธี [49] เป็นพาหนะที่นำเสด็จรัชกาลที่ 4 ประพาสหัวเมืองชายทะเล...

ความรุนแรงที่ขอนแก่น พ.ศ. 2479 สู่การสิ้นสุดของ “พรรคคอมมิวนิสต์สยาม”

องค์กรการเมืองในระบอบคอมมิวนิสต์ที่มีบทบาทต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทยมีอยู่ 2 องค์กรหลัก ๆ ได้แก่ พรรคคอมมิวนิสต์สยาม (พคส.) กับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) แม้องค์กรหลังจะพัฒนามาจากองค์กรแรกด้วยอุดมกาณณ์ทางการเมืองแบบซ้ายจัดเหมือนกัน แต่ถือว่าเป็นคนละองค์กรกันอย่างชัดเจนด้วยหลาย ๆ เหตุผล สำหรับพรรคคอมมิวนิสต์สยามนั้นถือกำเนิดตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2473 ก่อนการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎร ขณะที่พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยก่อตั้งอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2485 การจัดตั้งพรรคคอมมิวนิสต์สยามเป็นส่วนหนึ่งในการประสานงานของโฮจินมินห์กับ 2...

อากาศแปรปรวนบริเวณประทศไทยตอนบนและฝนตกหนักบริเวณภาคใต้ ฉบับที่ 5

ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2565บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนจะแผ่เสริมลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทำให้บริเวณดังกล่าวมีฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง และฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่งเกิดขึ้นในช่วงวันที่ 10–11 ตุลาคม 2565 หลังจากนั้นอุณหภูมิจะลดลงกับมีลมแรง โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนืออุณหภูมิจะลดลง 3-5 องศาเซลเซียส ส่วนภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก อุณหภูมิจะลดลง 1-3 องศาเซลเซียส ขอให้ประชาชนบริเวณดังกล่าวระวังอันตรายจากสภาพอากาศแปรปรวนที่มีฝนตกหนัก ลมกระโชกแรง และอุณหภูมิลดลง...

ทำไม ร.6 ไม่โปรดกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ดูข้อมูลจากหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ โอรสองค์เล็ก

พระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลที่ 6 ทรงฉายร่วมกับหมู่ราชองครักษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 6 มีเรื่องราวเบื้องหลังที่น่าสนใจ โดยเฉพาะกรณีข้อกังขาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ว่าพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 พระองค์ไม่โปรดสมเด็จฯ ซึ่งมีข้อสันนิษฐานที่มาที่ไปอย่างหลากหลาย ขณะที่ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล โอรสองค์เล็กในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงประทานสัมภาษณ์กรณีนี้ไว้ด้วย ศ. หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงประทานสัมภาษณ์เรื่องนี้และตีพิมพ์ครั้งแรกใน “โลกหนังสือ” (ฉบับเดือนกรกฎาคม 2525) และปรากฏเนื้อหานี้อีกครั้งในบทความ “ห้วงแห่งชีวิตและงานบางเสี้ยวของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ...

เรื่อง ประชาสัมพันธ์การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 3 การวางผังนโยบายระดับประเทศ ภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รายละเอียดการประชุม เครดิตข่าวจากเว็บไซต์ สมุทรปราการ https://www2.samutprakan.go.th/