DGA นำคณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ วางพวงมาลาถวายราชสักการะพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันปิยมหาราช
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ DGA โดย นายณัฐวัชร์ วรนพกุล รองผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล นำคณะผู้บริหาร นายอุสรา วิสารทานนท์ ผู้อำนวยการฝ่ายที่ปรึกษาและบริหารโครงการ นายปณิธาน เขินอำนวย ผู้อำนวยการฝ่ายความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ และเจ้าหน้าที่ วางพวงมาลาถวายราชสักการะพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันปิยมหาราช ณ พระลานพระราชวังดุสิต เพื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ Read More เครดิตข่าวจาก :...
สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (CAAT) ร่วมวางพามาลาเนื่องในวันปิยมหาราช
วันอาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม 2565 สำนักงานการบินพลเรือนแห่งป วันอาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม 2565 สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (CAAT) นำโดย นายวีระ ชีวะอิสระกุล รักษาการผู้จัดการฝ่ายมาตรฐานปฏิบัติการบิน และพนักงาน ร่วมวางพามาลาเนื่องในวันปิยมหาราช เพื่อน้อมรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า Read More Credit ข่า : สำนักงานการบินพลเรือนแห่ง ประเทศไทย...
จังหวัดสมุทรปราการ จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์วัดบัวโรย
วันที่ 23 ตุลาคม 2565 เวลา 09.30 น. นายชัยพจน์ จรูญพงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานเปิดโครงการจิตอาสาพระราชทาน “เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ” กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 23 ตุลาคม 2565 ณ วัดบัวโรย อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมี ข้าราชการ ทหาร...
จังหวัดสมุทรปราการ จัดพิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะเนื่องในวันปิยมหาราช
วันที่ 23 ตุลาคม 2565 เวลา 08.30 น. นายชัยพจน์ จรูญพงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานในพิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะ น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว “วันปิยมหาราช” ณ บริเวณลานพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีข้าราชการพลเรือน ตุลาการ ทหาร ตำรวจ ภาคเอกชน...
“ระบบการศึกษา” เครื่องมือผนวก “ล้านนา” ให้กลายเป็นไทยในสมัยรัชกาลที่ 6
เด็กนักเรียนโรงเรียนประชาบาลเมืองเชียงแสน พ.ศ. 2466 (ภาพจาก หอจดหมายเหตุแห่งชาติ) ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ในสยามกำเนิดรัฐแบบใหม่ที่บริหารงานแบบรวมศูนย์ ทำให้จำเป็นต้องสลายอำนาจท้องถิ่นเพื่อดึงทรัพยากรและผู้คนมาเป็นของรัฐบาลส่วนกลาง สำหรับกรณีของล้านนา สยามเลือกใช้วิธีของเข้าอาณานิคมผสมผสานกับธรรมเนียมของรัฐจารีต หากยังขาดจิตสำนึกร่วมชาติ รัชกาลที่ 6 จึงทรงใช้ “การศึกษา” เป็นเครื่องมือในการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งเรื่องดังกล่าวนี้ ผศ.ดร. เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว ได้ค้นคว้าและเรียบเรียงไว้ ใน “เปิดแผนยึดล้านนา” ในที่นี้ขอคัดย่อเพียงส่วนเกี่ยวกับการมานำเสนอพอสังเขปดังนี้ ครั้งนั้นรัฐบาลสยามเร่งจัดตั้งโรงเรียนตัวอย่างในท้องถิ่น ได้แก่ โรงเรียนหลวงที่รัฐบาลกลางจัดตั้งและอุดหนุน, โรงเรียนประชาบาล ที่เจ้าหน้าที่ปกครองท้องที่, ราษฎร และพระสงฆ์ร่วมมือกัน...