ติดตามผ่านช่อง : Siammongkol Youtube Channel

เก่งจริงเจอตัวต่อตัว “หมี VS คน” ไฟต์มวยจริงในประวัติศาสตร์ยุโรป ติดยศหมีด้วย

ภาพการแข่งขันการชกมวยระหว่างหมีและคน จัดที่นิวยอร์ก ในค.ศ. 1937 (ภาพจากคลิป Bear Boxing Man จากเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?time_continue=18&v=2mmKAFiY8K0)   ในประวัติศาสตร์ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่า “หมี” สัตว์ขนปุยตัวใหญ่นี้เคยถูกจับมาเข้าร่วมกีฬาการต่อสู้อย่าง “มวย” และ “มวยปล้ำ” กับเหล่ามนุษย์ด้วย ในแรกเริ่มเดิมที การแข่งขันการต่อสู้ระหว่างหมีกับคนนี้ได้รับความนิยมจากคนดูในแถบประเทศยุโรป สมัยกลางศตวรรษที่ 19 จากนั้นจึงถูกนำไปเผยแพร่ในประเทศสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1877 ซึ่งการจัดการแข่งในครั้งนั้น คาดว่าคงจะสร้างความประทับใจให้ชาวอเมริกันอยู่ไม่น้อย เพราะหลังจากนั้นเพียงไม่นาน...

ทำไม ร.9 ทรงแปรพระพักตร์ยังทิศตะวันออกขณะสรงพระมุรธาภิเษก ความหมายที่กินใจ

ผู้เขียน ห้องเรียนประวัติศาสตร์ศิลป์ เผยแพร่ วันศุกร์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2562   ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ถือเป็นพระราชประเพณีว่าการที่พระมหากษัตริย์สรงพระมุรธาภิเษก และทรงรับน้ำอภิเษกเป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างยิ่งในการพระราชพิธี เพื่อทรงประกาศพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ คำว่า “มุรธาภิเษก” แปลโดยรูปศัพท์ก็คือการรดน้ำเหนือศีรษะนั่นเอง ในการนี้พระมหากษัตริย์จะประทับบนตั่งไม้อุทุมพร หรือไม้มะเดื่อภายในพระมณฑปพระกระยาสนาน จากนั้นจะทรงวักน้ำจากพระครอบพระมุรธาภิเษก สรงพระเจ้าเป็นปฐม เมื่อถึงมหาอุดมมงคลฤกษ์ โหรลั่นฆ้องชัย เจ้าพนักงานภูษามาลาจะได้ไขสหัสธาราโปรยน้ำพระมุรธาภิเษกจากเพดานพระมณฑปถวายพระมุรธาภิเษก อันประกอบด้วย น้ำจากปัญจมหานที น้ำเบญจสุทธคงคา และน้ำจากสระทั้ง 4...

ความหมายและนัยของพิธีสรงน้ำพระมุรธาภิเษก ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับ น้ำสรงพระมูรธาภิเษกจากสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์   “มุรธาภิเษก” แปลว่า การรดน้ำที่พระเศียร น้ำที่รดเรียกว่า “น้ำมุรธาภิเษก” ที่ผ่านการทำพิธีกรรมมาแล้ว ดังนั้นการสรงพระมุรธาภิเษกจึงเป็นการชำระล้างให้สะอาดและศักดิ์สิทธิ์ ในแง่พระราชพิธีบรมราชาภิเษกจึงหมายถึง การยกให้หรือการแต่งตั้งโดยการทำพิธีรดน้ำ ซึ่งตามคติความเชื่อของพราหมณ์ ถือว่าการยกให้ผู้ใดเป็นใหญ่ทรงสิทธิ์อำนาจนั้นจะต้องทำด้วยพิธีรดน้ำศักดิ์สิทธิ์ ผศ. ดร. รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล อธิบายว่า เนื่องจากสภาพภูมิอากาศในไทยเป็นเมืองร้อน การอาบน้ำเป็นเรื่องสำคัญโดยเฉพาะการอาบน้ำเพื่อชำระร่างกายให้สะอาดก่อนเข้าพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งเป็นเรื่องที่พบได้ทั่วไป แต่การมุรธาภิเษก มีความสำคัญอย่างหนึ่งคือการรดน้ำครั้งนี้คือการเปลี่ยน ได้รับอำนาจ หรือเปลี่ยนสถานะเป็นผู้มีอำนาจอย่างสมบูรณ์สุดในอาณาจักร ธรรมเนียมการมุรธาภิเษกเพื่อสถาปนาอำนาจหรือยกให้บุคคลที่ได้รับการมุรธาภิเษกให้เป็นผู้ยิ่งใหญ่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ของทางศาสนาพราหมณ์ที่มีอายุเก่ากว่าพระพุทธเจ้า...

ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมนายอำเภอ และหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย ครั้งที่ 3/2565

วันที่ 30 มีนาคม 2565 เวลา 08.00 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมนายอำเภอ และหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย ครั้งที่ 3/2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดสมุทรปราการ โดยมี นายศุภมิตร ชิณศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ นายชัยพจน์ จรูญพงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ นายเจนเจตน์ เจนนาวิน...

ใครเป็นผู้ถวายน้ำอภิเษก? ในพระราชพิธีบรมราชภิเษก

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ประทับพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ทรงแปรพระพักตร์สู่ทิศบูรพาเป็นปฐม นายควง อภัยวงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายน้ำอภิเษก (ภาพจากหนังสือพระราชพิธีบรมราชาภิเษก กระทรวงวัฒนธรรม 2560)   พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในวันที่ 4 พฤษภาคม 2562 นี้ ประกอบด้วยพิธีสรงน้ำพระมุรธาภิเษก, พิธีถวายน้ำอภิเษก, พิธีถวายสิริราชสมบัติและเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ฯลฯ  สำหรับ “น้ำ” ที่ต้องใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกต้องใช้น้ำจากแหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์เท่านั้น แหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ใช้ประกอบพระราชพิธีสำคัญนี้ได้แก่ น้ำจากสระ...

พระบรมราโชบายทางการทหารของรัชกาลที่ 5 ในฐานะ “กษัตริย์-พ่อ”

การแสดงแสนยานุภาพทางการทหารของกองกำลังสยามบริเวณท้องสนามหลวง (ภาพจาก หนังสือสยามรัฐวัฒนาใต้ฟ้าพระสยามมินทร, โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ธันวาคม 2551)   การปฏิรูปกองทัพตามอย่างตะวันตกของสยามเริ่มขึ้นตั้งแต่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเริ่มแรกของการปฏิรูปกองทัพได้มีการว่าจ้างร้อยเอก อิมเปย์ (Captain Impey) นายทหารกองทัพอังกฤษที่ประจําการอยู่ในประเทศอินเดียเข้ามาเป็นครูฝึกทหารให้แก่กรมทหารอาสาลาวและกรมทหารอาสาเขมร โดยเรียกกองทหารหน่วยนี้ว่า “ทหารเกณฑ์หัดอย่างยุโรป” ต่อมาได้มีนายทหารชาวต่างชาติทั้งชาวอังกฤษ เช่น ร้อยเอก โทมัส ยอร์ช น็อกซ์ (Captain Thomas George Knox)...

นายเจนเจตน์ เจนนาวิน รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการผู้มีอำนาจเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 จังหวัดสมุทรปราการ

เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2565 เวลา 10.30 น. ณ ห้องประชุมไกล่เกลี่ย 1 ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ มอบหมายให้ นายเจนเจตน์ เจนนาวิน รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการผู้มีอำนาจเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 จังหวัดสมุทรปราการ โดยมี คณะอนุกรรมการฯ เข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียง...

นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ ร่วมการประชุมคณะทำงานส่งเสริมการท่องเที่ยวตามเส้นทางโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ

เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2565 เวลา 10.30 น. นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ ร่วมการประชุมคณะทำงานส่งเสริมการท่องเที่ยวตามเส้นทางโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ โดยมีนายวิทยา ผิวผ่อง สมาชิกวุฒิสภาและที่ปรึกษาคณะทำงานส่งเสริมการท่องเที่ยวตามเส้นทางโครงการนเนื่องมาจากพระราชดำริในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุม และมี หม่อมหลวงสกุล มาลากุล...

นายเจนเจตน์ เจนนาวิน รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ครั้งที่ 4/2565

เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2565 เวลา 15.00 น. ณ ห้องประชุมที่ว่าการอำเภอเมืองสมุทรปราการ นายวันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ มอบหมายให้ นายเจนเจตน์ เจนนาวิน รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ครั้งที่ 4/2565 โดยมีคณะกรรมการฯ...

ทำไม รัชกาลที่ 5 งดเงินเดือนเสนาบดี-ปลัดทูลฉลองที่ขาดเฝ้าในพระราชพิธีโสกันต์?

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 (ภาพตกแต่งเพิ่มเติมจากไฟล์ต้นฉบับของ AFP PHOTO) ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับตุลาคม 2562 ผู้เขียน วิภัส เลิศรัตนรังษี เผยแพร่ วันจันทร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2565   …แม้ว่าพระราชพิธีจะเป็นกิจของพระเจ้าแผ่นดินก็ตาม แต่ไม่ได้หมายความว่าพระเจ้าแผ่นดินจะเป็นองค์ประธานในการพระราชพิธีต่างๆ นั้นเสมอไป เพราะมีอย่างน้อย 2 พระราชพิธีที่จะต้องให้เสนาบดีสวมบทบาท “เป็นผู้ได้รับสมมต” (สะกดตามต้นฉบับ...

วิถีของพระยาวินัยสุนทร (วิม พลกุล) นายทหารผู้กล้าวิวาทะโต้เถียงร.6

รัชกาลที่ 6 ทรงฉายพระฉายาลักษณ์ร่วมกับราชองครักษ์ (ภาพจากหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพพระยาอนิรุทธเทวา) ผู้เขียน รัชตะ จึงวิวัฒน์ เผยแพร่ วันเสาร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565   ในประวัติศาสตร์ไทยมีบุคคลไม่กี่รายที่กล้าคัดค้านพระเจ้าแผ่นดินแบบตรงไปตรงมา ยิ่งเป็นทหารด้วยแล้วยิ่งมีน้อยราย พระยาวินัยสุนทร (วิม พลกุล) เป็นตัวอย่างของคนกลุ่มน้อยที่กล้าประพฤติเช่นนั้น ซึ่งนอกจากจะไม่โดนลงโทษแล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ยังพระราชทานรางวัลให้อีกด้วย แต่เมื่อกาลมาถึงยุคเปลี่ยนผ่าน...

“สยาม” ถูกใช้เรียกชื่อประเทศเป็นทางการสมัยรัชกาลที่ 4

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ   “…พิจารณาไปในเรื่องเมืองพม่าที่กล่าวในหนังสือต่างๆ ได้ความรู้ใหม่อีกอย่างหนึ่งว่า พม่าไม่ได้เรียกประเทศของตนว่า ‘พม่า’ เรียกว่า ‘กรุงอังวะ’ พระเจ้าแผ่นดินถึงเมื่อตั้งราชธานีอยู่ที่อื่น ที่สุดจนถึงพระเจ้าสีป่อก็เรียกว่า ‘พระเจ้าอังวะ’ น่าพิศวงว่าเหตุใดจึงมาเหมือนกันกับไทยที่เรียกประเทศสยามว่า ‘กรุงศรีอยุธยา’ และเรียกพระเจ้าแผ่นดินว่า ‘พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา’ มาจนตลอดรัชกาลที่ ๓ เพิ่งมาเรียกชื่อ ‘สยาม’ ในทางราชการตั้งแต่รัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา” (กรมพระยาดำรงฯ, เล่ม ๘,...

รัชกาลที่ 4 ทรงทราบเรื่อง การวิ่งเต้นติดสินบน ขอเป็นเจ้าเมือง แล้วท่านก็ทรงประกาศว่า”ใจมันมิใช่ใจคนเปนผีโหงผีห่า”

“ใจมันมิใช่ใจคนเปนผีโหงผีห่า” รัชกาลที่ 4 ทรงทราบเรื่อง การวิ่งเต้นติดสินบน ขอเป็นเจ้าเมือง แล้วท่านก็ทรงประกาศข้อความตอนหนึ่งว่า “ใจมันมิใช่ใจคนเปนผีโหงผีห่า “…ผู้ที่อยากจะเปนผู้สำเร็จราชการหัวเมือง สู้เปนหนี้ สินกู้ยืมท่านผู้อื่น สู้เสียดอกเบี้ยมาเสียสินบน ไปได้เปนผู้สำเร็จราชการเมืองเหล่านี้นั้น ขอให้ท่านทั้งปวงตั้งแต่ ผู้ดีตลอดไปจนไพร่รู้จักเถิดว่า ใจมันมิใช่ใจคนเปนผีโหงผีห่า สู้เสียเงินเสียทองเปนหนี้เปนสินผูกดอกท่านผู้อื่นไป ด้วยคิดว่าจะไปกินเลือดเนื้อมนุษย์ เถือเนื้อมนุษย์ หรือเอาเลือดมนุษย์ในเมืองนั้นมาใช้หนี้ได้ทันประสงค์ จึงคิดการดังนั้น ก็เพราะการในหัวเมืองเปนการไกลพระเนตรพระกรรณ ไกลหูไกลตาท่านผู้หลักผู้ใหญ่ จะพูดจะทำบังคับบัญชาอะไรไปคดๆ โกงๆ ก็อาจจะทำไปได้ทุกอย่าง...

ภาพของพระเจ้าอยู่หัว “รัชกาลที่ 5” ตัวแทนของพระองค์ที่คนคิดถึงก่อนสิ่งใด

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5   วันที่ 23 ตุลาคม พุทธศักราช 2453 ข่าวการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 นำมาซึ่งความตระหนกตกใจอย่างใหญ่หลวงต่อพสกนิกรชาวไทยในยุคนั้น เพราะพระองค์ทรงเป็นศูนย์รวมใจของคนทั้งแผ่นดินมายาวนานกว่ารัชสมัยใดๆ ของกรุงรัตนโกสินทร์ การจากไปอย่างกะทันหันทำให้ผู้คนเสียขวัญอย่างมาก “สี่แผ่นดิน” บทประพันธ์อมตะอันเลื่องลือของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช สะท้อนภาพให้เห็นความสมจริงในวันวิปโยคนั้นว่ามีการพูดถึงภาพของพระเจ้าอยู่หัวเป็นตัวแทนของพระองค์ที่คนคิดถึงก่อนสิ่งใดหมด “แต่เรื่องพระเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตนั้น พลอยไม่เคยนึกถึงเลย เพราะนึกไปไม่ถึงด้วยเป็นเรื่องใหญ่ ถ้าหากว่ายายเทียบไม่เหลวไหลแล้วและข่าวนี้เป็นความจริงก็เท่ากับว่าหลักหรือแกนของโลกมนุษย์ที่พลอยรู้จักนั้นสลายลง ความเชื่อถือในข่าวร้ายที่ได้ยินเพิ่มมากขึ้นทุกระยะที่หัวใจเต้น พลอยเหลือบดูพระบรมรูปแผ่นใหญ่ที่ติดไว้ในที่สูง...

“สวนจิตรลดา” โครงการส่วนพระองค์ในหลวงรัชกาลที่ ๙

ภาพประกอบเนื้อหา – พิธีทำขวัญแม่โพสพ ณ แปลงนาทดลอง สวนจิตรลดา ๒๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ (ภาพจาก สารานุกรมพระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรอบ ๖๐ ปี แห่งการครองราชย์)   โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เริ่มต้นจากการที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงปราถนาให้พสกนิกรอยู่ดีมีความสุขตามอัตภาพ โดยเฉพาะเกษตรกร เนื่องจากเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักของประเทศไทย จากการแปรพระราชฐานไปจังหวัดต่างๆ ทรงพบว่าเกษตรกรยังประสบปัญหาในการประกอบอาชีพอยู่มาก อาจเป็นปัจจัยให้ประเทศพัฒนาได้ไม่เต็มที่ จึงทรงมุ่งมั่นพัฒนาการเกษตรไทยให้เจริญก้าวหน้า...

“พระศรีรัตนเจดีย์” ซ้อนอยู่ใน “พระเมรุมาศ” แนวคิดและความหมายในการวางผังพระเมรุมาศ รัชกาลที่ ๙

หากมองพระเมรุมาศจากกึ่งกลางของทางเข้านอกรั้วราชวัติทางทิศเหนือจะสามารถมองเห็นยอดพระศรีรัตนเจดีย์ซ้อนอยู่ในพระเมรุมาศบุษบกประธาน ที่มา หนังสือ “สู่ฟ้าเสวยสวรรค์” สำนักพิมพ์มติชน ผู้เขียน ธัชชัย ยอดพิชัย (หนึ่งในผู้เขียนหนังสือ “สู่ฟ้าเสวยสวรรค์”) เผยแพร่ วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2560   แนวคิดและความหมายในการวางผังพระเมรุมาศ รัชกาลที่ ๙ แนวคิดในการจัดวางผังพระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จะเชื่อมโยง สัมพันธ์กับศาสนสถานที่สำคัญในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์บริเวณรอบมณฑลพิธีท้องสนามหลวง โดยตำแหน่งที่ตั้งพระเมรุมาศบุษบกประธาน ที่ตั้งของพระจิตกาธานสำหรับถวายพระเพลิงพระบรมศพ เป็นจุดตัดของแนวแกนที่สำคัญ...

“ในหลวงรัชกาลที่ ๙” ทรงเก็บพระบรมอัฐิ “สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี”

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเก็บพระบรมอัฐิสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ ทรงน้ำพระสุคนธ์ในขันทองคำลงยา (ภาพจาก จดหมายเหตุงานพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗. กรมศิลปากร, ๒๕๒๙.)   พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงเก็บพระบรมอัฐิสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ (ภาพจาก จดหมายเหตุงานพระบรมศพ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่...

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในรัชกาลที่ 9 และเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชระหว่างทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 (AFP) ที่มา ศิลปวัฒนธรรม พฤษภาคม 2530 ผู้เขียน ส.พลายน้อย เผยแพร่ วันจันทร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ.2562   จากบทความ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกและเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ศิลปวัฒนธรรม พฤษภาคม 2530 ตามพระราชประเพณีเดิมของไทย เมื่อสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินได้เสด็จผ่านพิภพ ก็ยังไม่ถือว่าเป็นพระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ ทรงเป็นแต่ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน บัตรหมายในราชการก็ยังขานพระยศอย่างเดิม...

“ถนนสีลม” มาจากไหน??

ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพฤษภาคม 2536 ผู้เขียน สุมิตรา จันทรเ์งา เผยแพร่ วันจันทร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ.2562   ความเป็นมาของถนนทุกสายรวมทั้งถนนสีลม ๑ ใน ๓ ถนนแรกที่ก่อสร้างขึ้นในพระนครรัตนโกสินทร์ย่อมผูกพันอย่างแยกไม่ออกจากจุดที่ตั้งแรกเริ่มของ “กรุงเทพฯ” อันเป็นเมืองท่า ศูนย์กลางการค้าและการปกครองของชาวบางกอก ตั้งแต่ครั้งที่สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์และทรงเลือกที่ตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ตามชัยภูมิ “นาคนาม” ในตำราพิชัยสงครามคือมีน้ำโอบรอบภูเขา หรือถ้าไม่มีภูเขาหรือมีน้ำโอบรอบก็ได้ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น...

สพส. ร่วมกับ กอ.รมน.กทม. ติดตามผลการดำเนินงานโครงการเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ปัจจุบันเมล็ดพันธ์ุผักพระราชทานฯ ที่เพาะปลูกกำลังเจริญงอกงาม สามารถเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธ์ุรุ่นต่อไปได้แล้ว จึงได้ให้คำแนะนำการเก็บ และรักษาเมล็ดพันธ์ุผักดังกล่าว เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดเก็บและรักษาเมล็ดพันธุ์ได้อย่างมีคุณภาพสามารถขยายผลการดำเนินโครงการต่อไปได้ เครดิตข่าวจากสำนักประชาสัมพันธ์กรุงเทพมหาคร : https://frontend-api.prbangkok.com/ Read More