ติดตามผ่านช่อง : Siammongkol Youtube Channel

พายุโซนร้อนกำลังแรง “ชบา” (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 8

ฉบับที่ 8 ลงวันที่ 01 กรกฎาคม 2565เมื่อเวลา 16.00 น. ของวันนี้ (1 ก.ค. 65) พายุโซนร้อนกำลังแรง “ชบา” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนมีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 19.1 องศาเหนือ ลองจิจูด 112.9 องศาตะวันออก ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้เคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือค่อนตะวันตกเล็กน้อยด้วยความเร็ว...

พายุโซนร้อน “ชบา” (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 7

ฉบับที่ 7 ลงวันที่ 01 กรกฎาคม 2565เมื่อเวลา 07.00 น. ของวันนี้ (1 ก.ค. 65) พายุโซนร้อนกำลังแรง “ชบา” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนมีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 18.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 114.1 องศาตะวันออก ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 101 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนืออย่างช้า...

พายุโซนร้อน “ชบา” (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 6

ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 01 กรกฎาคม 2565เมื่อเวลา 04.00 น. ของวันนี้ (1 ก.ค. 65) พายุโซนร้อน “ชบา” มีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 17.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 114.2 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนืออย่างช้า...

พายุโซนร้อนบริเวณทะเลจีนใต้ (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 5

ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2565เมื่อเวลา 16.00 น. ของวันนี้ (30 มิ.ย. 65) พายุโซนร้อน “ชบา” มีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 16.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 115.2 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้เคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือค่อนทางตะวันออกเล็กน้อยอย่างช้า...

พายุดีเปรสชันบริเวณทะเลจีนใต้ (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 5

ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2565เมื่อเวลา 04.00 น. ของวันนี้ (30 มิ.ย. 65) พายุดีเปรสชันบริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนมีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 15.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 114.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตก ด้วยความเร็วประมาณ 15...

พายุดีเปรสชันบริเวณทะเลจีนใต้ (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 3

ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2565เมื่อเวลา 16.00 น. ของวันนี้ (29 มิ.ย. 65) พายุดีเปรสชันบริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนมีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 16.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 116.0 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้เกือบไม่เคลื่อนที่ คาดว่าจะเคลื่อนขึ้นฝั่งประเทศจีนตอนใต้ในช่วงวันที่ 2–3...

พายุดีเปรสชันบริเวณทะเลจีนใต้ (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 2

ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2565เมื่อเวลา 01.00 น. ของวันนี้ (29 มิ.ย. 65) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงที่ปกคลุมบริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนได้ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันแล้ว โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ ละติจูด 15.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 116.0 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนืออย่างช้าๆ คาดว่าจะเคลื่อนขึ้นฝั่งประเทศจีนตอนใต้ในช่วงวันที่...

หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงบริเวณทะเลจีนใต้ (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2565) ฉบับที่ 1

ฉบับที่ 1 ลงวันที่ 28 มิถุนายน 2565หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงที่ปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนบน มีแนวโน้มจะทวีกำลังแรงขึ้น และเคลื่อนขึ้นฝั่งประเทศจีนตอนใต้ในช่วงวันที่ 2–3 ก.ค. 65 ประกอบกับในช่วงวันที่ 30 มิ.ย. – 2 ก.ค. 65 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยจะมีกำลังแรงขึ้น ในขณะที่ร่องมรสุมพาดผ่านตอนบนของภาคเหนือ ลักษณะเช่นนี้ทำให้ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่งบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 15

ฉบับที่ 15 ลงวันที่ 02 มิถุนายน 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยเริ่มมีกำลังอ่อนลง แต่ยังคงทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันตอนบนมีกำลังแรง ตั้งแต่จังหวัดภูเก็ตขึ้นมาทะเลมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งต่อไปอีก 1 วัน...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 14

ฉบับที่ 14 ลงวันที่ 02 มิถุนายน 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยยังคงมีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งต่อไปอีก 1 วัน จึงขอให้ประชาชนติดตามประกาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 มิถุนายน 2565) ฉบับที่ 13

ฉบับที่ 13 ลงวันที่ 01 มิถุนายน 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยยังคงมีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่ 2 มิ.ย. 65...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 มิถุนายน 2565) ฉบับที่ 12

ฉบับที่ 12 ลงวันที่ 01 มิถุนายน 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยยังคงมีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่ 2 มิ.ย. 65...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 มิถุนายน 2565) ฉบับที่ 11

ฉบับที่ 11 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยยังคงมีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่ 2 มิ.ย. 65...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 มิถุนายน 2565) ฉบับที่ 10

ฉบับที่ 10 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย มีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามัน และอ่าวไทยตอนบนมีกำลังแรง โดยบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 มิถุนายน 2565) ฉบับที่ 9

ฉบับที่ 9 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย มีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามัน และอ่าวไทยตอนบนมีกำลังแรง โดยบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 มิถุนายน 2565) ฉบับที่ 8

ฉบับที่ 8 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย มีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามัน และอ่าวไทยตอนบนมีกำลังแรง โดยบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 2 มิถุนายน 2565) ฉบับที่ 7

ฉบับที่ 7 ลงวันที่ 29 พฤษภาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย มีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามัน และอ่าวไทยตอนบนมีกำลังแรง โดยบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 30 พฤษภาคม 2565) ฉบับที่ 6

ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 29 พฤษภาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย มีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันและอ่าวไทยมีกำลังแรง โดยบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 5

ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย มีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันและอ่าวไทยมีกำลังแรง โดยบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนบริเวณอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่...

คลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 5

ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2565มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย มีกำลังแรง ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันและอ่าวไทยมีกำลังแรง โดยบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่วนบริเวณอ่าวไทยตอนบนและทะเลอันดามันตอนล่าง มีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงการเดินเรือบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง...